281 likes | 430 Views
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม. โดย surapolt@dmr.go.th ฝ่ายวิศวกรรมแหล่งพลังงาน. ปริมาณสำรองปิโตรเลียมคืออะไร. คือ ค่าประมาณ ปริมาณน้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเหลว ที่อยู่ในแหล่งกักเก็บซึ่งสามารถจะผลิตขึ้นมาได้ภายใต้ภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีปัจจุบัน. ใครอยากรู้บ้าง. เจ้านาย (รัฐ)
E N D
ปริมาณสำรองปิโตรเลียมปริมาณสำรองปิโตรเลียม โดย surapolt@dmr.go.th ฝ่ายวิศวกรรมแหล่งพลังงาน
ปริมาณสำรองปิโตรเลียมคืออะไรปริมาณสำรองปิโตรเลียมคืออะไร คือค่าประมาณปริมาณน้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเหลว ที่อยู่ในแหล่งกักเก็บซึ่งสามารถจะผลิตขึ้นมาได้ภายใต้ภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีปัจจุบัน
ใครอยากรู้บ้าง • เจ้านาย (รัฐ) • บริษัทและผู้ร่วมลงทุน • บุคคลทั่วไป
จะได้อะไรบ้างจากการทำจะได้อะไรบ้างจากการทำ • ปริมาณสำรองของชั้นหินกักเก็บ ของหลุม ของแหล่ง ตลอดจนของประเทศ • สามารถคาดการณ์การผลิตในอนาคตทั้งระยะสั้น กลางและระยะยาว • ประมาณการรายได้เข้าสู่รัฐ เช่น ค่าภาคหลวง ภาษีเงินได้ การจัดสรรรายได้สู่ท้องถิ่น • คุณลักษณะของแหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย • ช่วยประกอบการพิจารณาอนุมัติคำขอพื้นที่ผลิตใหม่ • ใช้วางแผนในการเปิดสัมปทานใหม่ • บริหารการนำเข้าปิโตรเลียม
เพื่ออะไร • ใช้ประโยชน์ในด้านการบริหาร การจัดการและการวางแผนจัดหาทรัพยากรปิโตรเลียมของประเทศ และรวมไปถึงการใช้เป็นเครื่องมือในการวางกลยุทธในด้านการจัดการทรัพยากรปิโตรเลียม (โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะเป็นประโยชน์และสอดคล้องกับแนวทางในการปรับโครงสร้างกิจการก๊าซธรรมชาติของประเทศในระยะยาว ตามข้อเสนอของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ โดยการขอความเห็นชอบในการดำเนินการคือให้ ปตท,อก และสพช./กพช. ทำหน้าที่ประมาณการอุปสงค์อุปทานของก๊าซธรรมชาติ • เพื่อให้รัฐสามารถวางแผนการพัฒนาประเทศให้สอดคล้องกับแผนการนำทรัพยากรของประเทศมาใช้ประโยชน์ (การรายงานของผู้รับสัมปทานต่อกรมทรัพยากรธรณี ต้องอยู่ภายใต้ข้อกำหนดใน กฎกระทรวงฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา14(1) แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และมาตรา 42 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปิโตรเลียม(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2532)
เป้าหมายของการประเมินของบริษัทเป้าหมายของการประเมินของบริษัท • ต้องการให้บริษัทมีผลกำไรสูงสุด • ขยายและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • เพิ่มส่วนแบ่งการตลาดหรือมูลค่าของทรัพย์สิน • ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการสำรวจและผลิต • เพื่อความคงอยู่ของบริษัทแบบยั่งยืน • สร้างโอกาสให้แก่บริษัทและทำให้โอกาสเป็นจริง
บริษัททำการประเมินเพื่อบริษัททำการประเมินเพื่อ • ทำการสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม • ให้ความเห็นแก่ฝ่ายจัดการเกี่ยวกับมูลค่าของแหล่งปิโตรเลียม • ส่งรายงานให้องค์กรของรัฐตรวจสอบผลการดำเนินการและแผนงาน • ออกแบบ ก่อสร้าง วางระบบและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวก • ประมาณค่าการตลาดของปิโตรเลียมที่จะซื้อหรือขาย • เตรียมการทำสัญญาขาย อัตราการส่งขายและกำหนดราคา
ทำอย่างไร • 1. ด้วยวิธีการเปรียบเทียบกับแหล่งข้างเคียง 2. โดยวิธีประเมินปริมาตร 3. ปริมาณการผลิตหรืออัตราการผลิตที่ลดลง 4. สมดุลย์ของสสาร 5. วิธีการทางคณิตศาสตร์
พรบ.ปิโตรเลียม ภายใน ภายนอก มาตรา (14) พ.ศ. 2514 ส่านกำกับ บริษัทผู้รับสัมปทาน กฏกระทรวง ฉบับที่ 18 (2534) ส่วนข้อมูล ปตท ส่วนจัดเก็บ บริษัทเงินทุน ส่วนนโยบาย บุคคลทั่วไป เกี่ยวข้องกับอะไรและใครบัาง
เราได้ทำอะไรไปบ้างแล้ว?เราได้ทำอะไรไปบ้างแล้ว? • ประมาณค่าปริมาณสำรองปิโตรเลียมทุกแหล่งในประเทศไทย • ศึกษาและจัดทำหลักเกณฑ์ในการแยกแยะปริมาณสำรอง • เผยแพร่ในรายงานประจำปีเพื่อการชี้ชวนให้บริษัทเข้ามาสำรวจ • จัดระบบแหล่งปิโตรเลียม • จัดทำฐานข้อมูลการผลิตเพื่อการวิเคราะห์
ปัญหาและอุปสรรค • ฐานข้อมูลการผลิตอยู่ระหว่างการปรับปรุง • การรับส่งข้อมูลยังไม่เต็มประสิทธิภาพ • การศึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งปิโตรเลียม
สิ่งที่เราจะทำต่อไป • ศึกษาในรายละเอียดของแต่ละแหล่ง ทั้งด้านธรณีวิทยา ธรณีฟิสิกส์วิศวกรรมปิโตรเลียม วิศวกรรมการผลิต (ผนวกเศรษฐศาสตร์ปิโตรเลียม)
ทำไมเราถึงต้องทำ • ให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้บริหารเพื่อใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ • มาตรา 14(1) ในพรบ ปิโตรเลียม 2514 • ติดตาม ตรวจสอบ ศึกษาและเปรียบเทียบกับรายงานของผู้รับสัมปทานต่อกรมทรัพยากรธรณี ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 18 (2534) เนื้อหาสาระก็คือ………..
COMPARISON OF RESERVOIR PERFORMANCEANALYSIS/RESERVES ESTIMATION TECHNIQUES
COMPARISON OF RESERVOIR PERFORMANCEANALYSIS/RESERVES ESTIMATION TECHNIQUES
COMPARISON OF RESERVOIR PERFORMANCEANALYSIS/RESERVES ESTIMATION TECHNIQUES
พยากรณ์การผลิตนานแค่ไหนพยากรณ์การผลิตนานแค่ไหน • ปกติทั่วไปจะพยากรณ์ตลอดระยะเวลา 5ปีปฏิทิน ข้างหน้า • ยกตัวอย่างเช่น DOE(……………..), UNOCAL, • ยกเว้นบางบริษัทจะพยากรณ์มากกว่า 10 ปี เช่น ESSO, ปตท.สผ • NPD จะพยากรณ์ 20 ปี • ฉะนั้นจึงยังไม่มีมาตรฐานที่แน่ชัด
ทำไมถึงไม่พยากรณ์ยาวนานทำไมถึงไม่พยากรณ์ยาวนาน สถานการณ์การผลิตเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ซึ่งจะทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้สูงมาก
ขออภัย ยังไม่สมบูรณ์ ยังไม่สมบูรณ์