250 likes | 583 Views
ลักษณะสำคัญขององค์การ. รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย. วัตถุประสงค์. เพื่อทบทวนที่มาของ PMQA เพื่อทบทวนหลักคิด 11 ประการของ PMQA เพื่อทบทวนหลักการในการออกแบบระบบ PMQA เพื่อทบทวนหลักการในการตอบคำถามหมวด P เพื่อลงมือปฏิบัติโดย Metaphor Technique. ระบบ. CIPP Model Balanced
E N D
ลักษณะสำคัญขององค์การลักษณะสำคัญขององค์การ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย
วัตถุประสงค์ • เพื่อทบทวนที่มาของ PMQA • เพื่อทบทวนหลักคิด 11 ประการของ PMQA • เพื่อทบทวนหลักการในการออกแบบระบบ PMQA • เพื่อทบทวนหลักการในการตอบคำถามหมวด P • เพื่อลงมือปฏิบัติโดยMetaphor Technique
ระบบ CIPP Model Balanced Context บริบท หมาเห่า OT Input ไตปลา เครื่องแกง ...SW Process กระบวนการแกงไตปลา Product Immediate Output แกงไตปลา Intermediate Output ได้กินแกงไตปลา Ultimate Output อิ่ม, อร่อย Output- Effect/Outcome Impact/ Result • Definable • Analyzable • Measurable • Repeatable • Predictable • ๕ กิจกรรม ๒๐ บาท • ๑๐ กิจกรรม ๕๐ บาท • ABC • Activity Based Costing
Output+ Outcome = Result • ผลสัมฤทธิ์ = ได้กินแกงไตปลารู้สึกอิ่มและอร่อย • RBM : Result Based Management กระบวนการ แกงไตปลา อิ่ม อร่อย วัตถุดิบ แกงไตปลา ได้กิน End Justifies Mean International Organization for Standardization :IOS = ISO
Input = เงินจำนวน 300,000 บาท • Process = สมองซ้าย + ขวา (OD+PMQA) • Output = หัวเราะแบบมีสาระ + DAMR(I)P(C) • คำนิยามของ PMQA • แยกองค์ประกอบของ PMQA • สามารถบอกแนวทางในการวัด PMQA • สามารถนำหลักการไปใช้ให้เกิดผล • สามารถพยากรณ์และควบคุมผลงานได้ Public Sector Management Quality Award
Administration & Management • Administration = การบริหาร การมีและใช้อำนาจในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์แก่องค์กร, สังคม (Equality, Equity, Ethics) • Ad(to)+ Mini(Commoner)+Strata(Class) • Ad(to)+Minister • Management = การจัดการ การทำงานให้สำเร็จ • Manual, Manipulate
QC : PDSA, PDCA • TQC : Total Quality Control • TQM: Total Quality Management : การนำองค์กร การวัด การวิเคราะห์ การจัดการความรู้, การจัดการกระบวนการ • Best Practice • ลักษณะสำคัญขององค์กร, การนำองค์กร, ยุทธศาสตร์, ผู้รับบริการฯ, KM, HR,การจัดการกระบวนการ, ผลลัพธ์ • MBNQA, SQA,JQA,TQA,PMQA
PA : Performance Agreement • BSC: BalancedScorecard Input Man (Learning & Growth) Money (Financial) Material Methodology Internal Process Output Outcome Customer ประสิทธิผล F :KPI 23 ตัว คุณภาพ C ประสิทธิภาพ I การพัฒนาองค์กร L
การวัดเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้นการวัดเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น การทำความเข้าใจเบื้องต้นต่อระบบการวัดตามกรอบ PMQA • Approach : มีไหม ทำไหม • Deploy : ถ่ายทอดไปสู่ผู้ปฏิบัติหรือผู้เกี่ยวข้องไหม • Learning : นำไปสู่การปฏิบัติจริงไหม • Integration : บรรลุผลและมีแนวโน้มต่อเนื่องไหม • ในทางปฏิบัติ ADLI จะมีคำนิยามและกรอบเป็นการเฉพาะ
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
การฝึกปฏิบัติหมวด P • อ่านคำถาม และ ตีความให้เข้าใจ • ถ้าเข้าใจแตกต่างกันให้สมาชิกพยายามทำความเข้าใจเพื่อหาข้อสรุป หากสรุปไม่ได้ให้กลุ่มตอบคำถามตามที่เข้าใจที่แตกต่างกันไปก่อน • ตอบให้ครบทุกคำถาม หากไม่มีข้อมูลสนับสนุนคำตอบให้สมมติข้อเท็จจริงเพื่อตอบ และ อธิบายว่าหากดำเนิน การจริงจะไปหาข้อมูลจากที่ใด และ คาดการณ์ว่าในทางปฏิบัติจะมีข้อมูลให้หรือไม่ • หลังพักช่วงบ่ายนำคำตอบมาเสนอต่อที่ประชุมเวลา ๑๔.๔๕ น
การตอบคำถามหมวด P (๑) • พระราชบัญญัติ/กฎกระทรวง/คำสั่ง....กำหนดให้ ส่วนราชการมีหน้าที่ ก ข ค ง • งานที่เกิดจากการปฏิบัติพันธกิจ คือ งาน ก. งาน ข. งาน ค. งาน ง. • ผู้ใช้งาน ก. คือ A, งาน ข. คือ B, งาน ค. คือ C, งาน ง.คือ D • งานที่มอบให้ A, B ต้องมีลักษณะ X แนวทางการดำเนินงานจึงใช้ X โดยส่งมอบแบบ.... • งานที่มอบให้ C, D ต้องมีลักษณะ Y แนวทางการดำเนินงานจึงใช้ Y โดยส่งมอบแบบ...
การตอบคำถามหมวด P (๒) • วิสัยทัศน์ “ และ “เป้าประสงค์” ตอบตามแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน” • วัฒนธรรมองค์กรคือ “ เป็นแบบแผนการดำเนินงาน หรือ วิถีชีวิตองค์การที่กระทำสืบต่อกันมาโดยจะมีการประกาศไว้หรือไม่ก็ตาม” • ค่านิยมองค์การ “ เป็นสิ่งที่ประกาศไว้ว่าให้ใช้หรือยึดถือเป็นแนวทาง คือ เป็นสิ่งที่องค์การนิยมให้ยึดถือในการทำงาน เช่น ตรงต่อเวลา ไม่มีขั้นตอนเกินความจำเป็น”
การตอบคำถามหมวด P (๓ – ๕) • ตอบโดยยึดพันธกิจเป็นฐาน เช่น คนที่ปฏิบัติงานประกอบด้วยตำแหน่งใดบ้าง แต่ละตำแหน่งมีกี่คน วุฒิการศึกษา อายุ เป็นอย่างไร ข้อมูลรวบรวมมาจากงานการเจ้าหน้าที่ หรืองานบุคคล และ พันธกิจเหล่านั้นต้องมีข้อกำหนดพิเศษอย่างไรในการทำงาน • ตอบโดยยึดพันธกิจเป็นฐาน เช่น พันธกิจ ก. ใช้อุปกรณ์สำคัญคือ...ข.ใช้อุปกรณ์ที่สำคัญคือ.... • ตอบโดยยึดพันธกิจเป็นฐาน เช่น พันธกิจ ก. มีกฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับสำคัญในการปฏิบัติตามพันธกิจคือ....
การตอบคำถามหมวด P (๖ – ๘) • การกำกับดูแลตนเองที่ดีคือการประกาศกำหนดนโยบายกำกับดูแลตนเองที่ดี เช่น มีการประกาศและให้ลงลายมือชื่อรับรองโดยบุคลากรในองค์การอย่างทั่วถึง มีการจัดทำมาตรฐานการควบคุมภายใน • นำหลัก SIPOC มาวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งประกอบด้วย Supplier, Partner, Customer รับรู้หรือสื่อสารความต้องการของคนเหล่านี้ได้อย่างไรบ้าง
การตอบคำถามหมวด P (๙-๑๒) • ประเด็นการแข่งขัน คือ ประเด็นที่องค์กรอื่นทำได้ดีกว่าและเราต้องการใช้องค์กรนั้นเป็นตัวเปรียบเทียบ • ประเด็นเปรียบเทียบ คือ ประเด็นสำคัญ ด้านประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ และ การพัฒนาองค์กร • ข้อจำกัดของข้อมูลที่นำมาใช้เปรียบเทียบ
การตอบคำถามหมวด P (๑๓-๑๕) • ท้าทายตามพันธกิจ เช่น การลดการตายด้วยอุบัติเหตุ • ท้าทายด้านปฏิบัติการ เช่น การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ • ท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล เช่น การพัฒนาความหลากลายความสามารถหรือการสั่งสมความเชี่ยวชาญงานอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิผล การสร้างความพึงพอใจในงาน • การปรับปรุงการทำงานโดยใช้ระบบคุณภาพใดให้ระบุ • มีการนำความสำเร็จ ความล้มเหลวมาแลกเปลี่ยนกันหรือไม่
หลักคิด : 11 Core Values 1 5 การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 9 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 2 6 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ความคล่องตัว 10 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 3 7 การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า การเรียนรู้ขององค์การ และแต่ละบุคคล 4 8 11 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ
ผังก้างปลากลยุทธ์ ปัจจัยภายใน (PMQA 6 หมวด) 1. สาเหตุ 2. สาเหตุ 5. สาเหตุ ปัญหา 3. สาเหตุ 4. สาเหตุ 6. สาเหตุ ปัจจัยภายนอก
ระดับชั้นของเกณฑ์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 17 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 32 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)
การกำกับดูแลตนเองที่ดี(P6)การกำกับดูแลตนเองที่ดี(P6) วัฒนธรรมและค่านิยม(P2) ข้อกำหนดพิเศษในการทำงาน(P3) กฎหมายหรือระเบียบสำคัญ(P5) ข้อกำหนดในการปฏิบัติงานกับองค์กรภายนอก(P7) วิธีการสื่อสารกับองค์กรภายนอก(P7) กระบวนการตามกฎหมาย(P1) นำความต้องการของผู้รับบริการมาออกแบบการ ทำงาน(P1) ประเด็นความท้าทาย (P13) ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ (P10) การปรับปรุงประสิทธิภาพ(P14) KM(P15) ปัจจัยนำเข้า(P3,P4) บุคลากร เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หน่วยงานภายนอกที่ เกี่ยวข้อง/ทำงานร่วมกัน (P7) (P8) คู่แข่งและประเด็นแข่งขัน (P9) ความคาดหวังผู้รับบริการที่สำคัญและวิธีสื่อสาร(P8)