1 / 69

โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)

โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic). โดย ภญ. กัลยา สกุลไทย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น. แนวคิดการนำร่องให้วัคซีนแก่ผู้ใหญ่. สภาพปัญหา : วัคซีนคอตีบ - บาดทะยัก วัคซีนคอตีบกระตุ้นทุก 10 ปี อยู่ในสิทธิประโยชน์ ที่ประชาชน ควรได้รับ

edgarb
Download Presentation

โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่(Adult Vaccination Clinic) โดย ภญ.กัลยา สกุลไทย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น

  2. แนวคิดการนำร่องให้วัคซีนแก่ผู้ใหญ่แนวคิดการนำร่องให้วัคซีนแก่ผู้ใหญ่ สภาพปัญหา: วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก • วัคซีนคอตีบกระตุ้นทุก 10 ปี อยู่ในสิทธิประโยชน์ที่ประชาชนควรได้รับ • ยังไม่มีการจัดบริการ ทำให้ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงวัคซีนได้ • ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยคอตีบในวัยผู้ใหญ่อย่างต่อเนื่อง • การกระตุ้นภูมิด้วยการรณรงค์ในระยะสั้นก่อให้เกิดภาระงานแก่เจ้าหน้าที่ • อาจต้องรณรงค์ซ้ำ เมื่อระดับภูมิคุ้มกันลดระดับลง • มีการให้วัคซีนdT ใน ER โดยเปิดขวดใช้นานกว่าที่มาตรฐานกำหนด

  3. แนวคิดการนำร่องให้วัคซีนแก่ผู้ใหญ่แนวคิดการนำร่องให้วัคซีนแก่ผู้ใหญ่ สภาพปัญหา :วัคซีนไข้หวัดใหญ่ • ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนอยู่ในระดับต่ำ โดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญลำดับต้น • มีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย • ขาดระบบการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีน • มีการนำวัคซีนไปฉีดแก่ประชากรที่อยู่นอกกลุ่มเป้าหมาย

  4. วัคซีนในผู้ใหญ่กับสิทธิประโยชน์วัคซีนในผู้ใหญ่กับสิทธิประโยชน์

  5. แนวทางการให้วัคซีนในคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่นคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่แนวทางการให้วัคซีนในคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่นคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ รูปแบบและการให้บริการ

  6. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์หลัก : พัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการให้บริการวัคซีนในผู้ใหญ่ วัตถุประสงค์รอง : กระตุ้นภูมิคุ้มกันในกลุ่มผู้ใหญ่ • คอตีบ-บาดทะยักในผู้ใหญ่ • ไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ • หัดในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข

  7. ขอบเขตเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย กำหนดการให้วัคซีน รูปแบบการให้บริการ การเตรียมการ การให้บริการ

  8. กลุ่มเป้าหมาย Flu MR dT บุคคลที่มีอายุ 0 ปีเต็ม ได้แก่ อายุ 20, 30, 40, 50, 60 ปี ไปจนตลอดชีวิต นักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป

  9. เคยได้รับมาแล้ว ครบ 3 ครั้ง เข็มสุดท้าย เกิน 10 ปี เข็มสุดท้าย 5-10 ปี เข็มสุดท้าย <5 ปี เคยได้รับมาแล้ว ไม่ครบ 3 ครั้ง 2 ครั้ง 1 ครั้ง ประวัติการได้รับวัคซีน dT ให้ dT 3 ครั้ง (เข็มแรกให้ทันที • เข็มสองห่างจากเข็มแรก 1 เดือน และ • เข็มสามห่างจากเข็มสอง 6 เดือน) จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี • อายุ 20 ปี • อายุ 0 ปีเต็ม ไม่ต้องให้วัคซีน ให้ dT 1 ครั้งจากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี ไม่มีประวัติ/ ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ ให้ dT 1 ครั้ง (ห่างจากเข็มสุดท้าย 6 เดือน) จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี ให้ dT 2 ครั้ง (เข็มแรกห่างจากเข็มสุดท้าย 1 เดือน และ เข็ม 2 ห่างจากเข็มแรก 6 เดือน) จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี • ให้ dT 1 ครั้งกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี แล้วแต่ความสมัครใจ หมายเหตุ :หากภายหลังได้รับวัคซีน dT แล้วมีอาการบวมแดงมากตั้งแต่บริเวณหัวไหล่ถึงข้อศอก (Arthus reaction) ให้ยุติการฉีดวัคซีนในเข็มถัดไป เนื่องจากมีภูมิคุ้มกันต่อบาดทะยักมากเพียงพอแล้ว และหลังจากนั้นให้นัดฉีดวัคซีนกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี กำหนดการให้วัคซีน dTในคลินิกวัคซีนสำหรับผู้ใหญ่

  10. DTP ครบ 5 เข็ม และ dTเมื่อ ป.6 นานกว่า 10 ปี ให้ dT 1 ครั้งจากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี เคยได้รับมาแล้ว ครบ 3 ครั้ง • เข็มสุดท้าย • เกิน 10 ปี เข็มสุดท้าย <10 ปี 2 ครั้ง 1 ครั้ง เคยได้รับมาแล้ว ไม่ครบ 3 ครั้ง อายุ 20 ปี ประวัติการได้รับวัคซีน dT ให้ dT 3 ครั้ง (เข็มแรกให้ทันที • เข็มสองห่างจากเข็มแรก 1 เดือน และ • เข็มสามห่างจากเข็มสอง 6 เดือน) จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี ไม่ต้องให้วัคซีน ไม่มีประวัติ/ ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ • ให้ dT 1 ครั้งจากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี ให้ dT 1 ครั้งจากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี ให้ dT 1 ครั้ง (ห่างจากเข็มสุดท้าย 6 เดือน) จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี ให้ dT 2 ครั้ง (เข็มแรกห่างจากเข็มสุดท้าย 1 เดือน และ เข็ม 2 ห่างจากเข็มแรก 6 เดือน) จากนั้นนัดกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี หมายเหตุ :หากภายหลังได้รับวัคซีน dT แล้วมีอาการบวมแดงมากตั้งแต่บริเวณหัวไหล่ถึงข้อศอก (Arthus reaction) ให้ยุติการฉีดวัคซีนในเข็มถัดไป เนื่องจากมีภูมิคุ้มกันต่อบาดทะยักมากเพียงพอแล้ว และหลังจากนั้นให้นัดฉีดวัคซีนกระตุ้น 1 ครั้ง ทุก 10 ปี กำหนดการให้วัคซีน dTในคลินิกวัคซีน หญิงตั้งครรภ์

  11. กำหนดการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในหญิงตั้งครรภ์ กำหนดการให้วัคซีน หัด-หัดเยอรมัน ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข ให้วัคซีน 1 ครั้ง แก่หญิงตั้งครรภ์ทุกคน เมื่อมีอายุครรภ์ตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป (สามารถให้ได้ตลอดปี โดยอาจเป็นวัคซีน southern strain หรือ northern strain) ให้วัคซีน 1 ครั้ง เมื่อเข้าเรียนชั้นปีที่ 1 หรือ ก่อนเริ่มปฏิบัติงานโดยเร็วที่สุด

  12. รูปแบบการให้บริการ Flu MR dT คลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ (สถาบันการศึกษา) คลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ (AVC) บูรณาการ ไปกับงาน ANC

  13. รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ Adult Vaccination Clinic = Well Baby Clinic

  14. รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ ช่วงเวลา การให้บริการ ระบบบริหารจัดการ คลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ • การประชาสัมพันธ์ • การให้วัคซีน • ระบบข้อมูล • ระบบลูกโซ่ความเย็น สถานที่และอุปกรณ์ที่จำเป็น บุคลากร

  15. รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่รูปแบบคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ การกำหนดช่วงเวลาการให้บริการ ประมาณครึ่งวัน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ประมาณครึ่งวัน เดือนละ 1 ครั้ง ภายใต้ข้อแนะนำของ สสอ.หรือ แพทย์ที่ระดับ CUP ภายใต้การดูแลของแพทย์ (เวชกรรมสังคม)

  16. สถานที่และอุปกรณ์ขั้นพื้นฐานของคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่สถานที่และอุปกรณ์ขั้นพื้นฐานของคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ • วัสดุอุปกรณ์ • สถานที่ให้บริการ • โรงพยาบาล • ควรมีจุดให้บริการเฉพาะ • มีพื้นที่เพียงพอสำหรับผู้มารอรับบริการ • จุดลงทะเบียน/คัดกรอง • จุดรอฉีดวัคซีนและให้ความรู้ • ห้องฉีดวัคซีน • จุดเฝ้าสังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีน • จุดนัดหมายและจ่ายยา • ควรมีผังลำดับจุดให้บริการ • รพสต. • จุดให้บริการเดียวกับการให้วัคซีนเด็ก แต่จัดให้อยู่คนละช่วงเวลา • มีอุปกรณ์ที่จำเป็นในการฉีดวัคซีน • เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติกวัคซีน สำลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ • มีอุปกรณ์กู้ชีพ • Ambu bag และ oxygen face mask, IV fluid set, IV fluid for resuscitation/Normal saline/ Ringer’s lactated solution, Adrenaline , Endotracheal tube, Laryngoscope • มีอุปกรณ์ในระบบลูกโซ่ความเย็น • ตู้เย็นที่มีพื้นที่เพียงพอ, กระติกวัคซีน และIcepack , Stock card, ใบเบิกวัคซีน ว.3/1

  17. บุคลากร • ควรมีการอบรมแนวทางการปฏิบัติการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน • มีการวางแผนการดำเนินงานร่วมกันในการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ • เจ้าหน้าที่ให้วัคซีนควรได้รับการอบรมการกู้ชีพเบื้องต้น เป็นระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี ตามมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  18. การประชาสัมพันธ์ • ช่องทางประชาสัมพันธ์ • เนื้อหา • เสียงตามสาย • ป้ายประชาสัมพันธ์ • ประชาสัมพันธ์โดยบุคลากรทางการแพทย์และอาสาสมัครสาธารณสุข • การให้บริการในคลินิกผู้ใหญ่ • ประโยชน์ของการได้รับวัคซีน • กำหนดการให้วัคซีนผู้ใหญ่ • สิทธิประโยชน์การได้รับวัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่

  19. การให้บริการวัคซีน ก่อนให้บริการ หลังให้บริการ ขณะให้บริการ • นัดหมายผู้มารับบริการ • การจัดเตรียมการบันทึกการให้บริการและการรายงาน • การจัดเตรียมอุปกรณ์การฉีด วัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น • การบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้มและจัดทำทะเบียนการให้บริการ • ตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามนัด • จัดทำทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน • ซักประวัติและตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน • ให้ความรู้ • ฉีดวัคซีน • บันทึก Lot.No. และลำดับขวด • รอสังเกตอาการ 30 นาที • กำจัดอุปกรณ์ในลักษณะขยะติดเชื้อ • เก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน

  20. ก่อนให้บริการ การนัดหมายผู้มารับบริการ • สืบค้นรายชื่อและตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย • dT: ผู้ใหญ่ที่เกิดในเดือนนั้นและที่มีอายุครบ 20, 30, 40, …. และหญิงตั้งครรภ์ • Flu: หญิงตั้งครรภ์ที่จะมีอายุครรภ์ครบ 4 เดือนขึ้นไป ในวันที่ให้บริการวัคซีน • MR: นักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข • ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน • ได้รับครบตามกำหนด • ได้รับไม่ครบตามกำหนด • ไม่ต้องรับวัคซีน • นัดหมายมารับวัคซีน

  21. ก่อนให้บริการ การจัดเตรียมการบันทึกการให้บริการและการรายงาน • เตรียมรหัสวัคซีน ในระบบ HIS ให้ครบถ้วนถูกต้อง • เตรียมทะเบียนรายชื่อผู้มารับบริการ • เตรียมทะเบียนรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน • เตรียมทะเบียนรายงานผลการให้บริการ (รายเดือน)

  22. ก่อนให้บริการ • การจัดเตรียมอุปกรณ์การฉีด วัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น • กำหนดลำดับที่ของขวดวัคซีน เตรียมบันทึกเลขที่ Lot. No.และขวดวัคซีน • เตรียมวัคซีนให้พร้อมใช้ และเก็บไว้ที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส • เตรียมอุปกรณ์กู้ชีพ ให้ครบถ้วน พร้อมใช้งาน • เตรียมวัสดุอุปกรณ์การฉีดวัคซีน ให้ครบถ้วน พร้อมใช้งาน

  23. การให้บริการวัคซีน ก่อนให้บริการ หลังให้บริการ ขณะให้บริการ • นัดหมายผู้มารับบริการ • การจัดเตรียมการบันทึกการให้บริการและการรายงาน • การจัดเตรียมอุปกรณ์การฉีด วัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น • การบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้มและจัดทำทะเบียนการให้บริการ • ตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามนัด • จัดทำทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน • ซักประวัติและตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน • ให้ความรู้ • ฉีดวัคซีน • บันทึก Lot.No. และลำดับขวด • รอสังเกตอาการ 30 นาที • กำจัดอุปกรณ์ในลักษณะขยะติดเชื้อ • เก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน

  24. ขณะให้บริการ ซักประวัติและตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน dT Influenza MR • ข้อห้ามใช้ • มีประวัติการแพ้รุนแรง • มีปฏิกิริยาภายหลังได้รับวัคซีนชนิดนี้ • มีประวัติแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน • ข้อห้ามใช้ • แพ้ไข่ไก่อย่างรุนแรง • เคยแพ้วัคซีน/ส่วนประกอบอย่างรุนแรง • กำลังมีไข้ /เจ็บป่วยเฉียบพลัน • หายจากการป่วยเฉียบพลัน <7 วัน • รักษาตัวและออกจากโรงพยาบาล <14 วัน • มีภาวะครรภ์เสี่ยงสูง / เคยมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ • ข้อห้ามใช้ • มีประวัติการแพ้รุนแรง • มีปฏิกิริยาภายหลังได้รับวัคซีนชนิดนี้ • มีประวัติแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน

  25. ขณะให้บริการ ให้ความรู้ • ประโยชน์และความปลอดภัยของวัคซีน • อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นภายหลังได้รับวัคซีน • แนวทางการปฏิบัติตนแก่ผู้มารับวัคซีน • ให้เวลาผู้รับบริการตัดสินใจในการรับวัคซีนโดยสมัครใจ ฉีดวัคซีน • วัคซีนdTและ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 0.5 มล. • วัคซีน MR ฉีดใต้ผิวหนัง(SC)0.5 มล.

  26. ขณะให้บริการ • บันทึก Lot.No. และลำดับขวด • รอสังเกตอาการ 30 นาที • กำจัดอุปกรณ์ในลักษณะขยะติดเชื้อ • เก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน

  27. การให้บริการวัคซีน ก่อนให้บริการ หลังให้บริการ ขณะให้บริการ • นัดหมายผู้มารับบริการ • การจัดเตรียมการบันทึกการให้บริการและการรายงาน • การจัดเตรียมอุปกรณ์การฉีด วัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น • การบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้มและจัดทำทะเบียนการให้บริการ • ตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามนัด • จัดทำทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน • ซักประวัติและตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน • ให้ความรู้ • ฉีดวัคซีน • บันทึก Lot.No. และลำดับขวด • รอสังเกตอาการ 30 นาที • กำจัดอุปกรณ์ในลักษณะขยะติดเชื้อ • เก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน

  28. การบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูลผ่านฐานข้อมูลชุดมาตรฐานด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) การบันทึกข้อมูลในสมุดวัคซีนสำหรับผู้ใหญ่/สมุดสุขภาพแม่และเด็ก • ชนิดวัคซีน • วันที่ได้รับวัคซีน • วันนัดหมายครั้งต่อไป (ถ้ามี) **ถ้าไปรับวัคซีนที่อื่นต้องนำมาบันทึกด้วย**

  29. หลังให้บริการ • ตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามนัด • จัดทำทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน

  30. การบันทึกและจัดทำรายงานการบันทึกและจัดทำรายงาน

  31. ขอบเขตเนื้อหา การจัดทำรายงาน การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีน การรายงานผล การติดตามประเมินผล

  32. การจัดทำรายงาน รายงาน ผลการปฏิบัติงาน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในพื้นที่ ผู้ได้รับวัคซีนนอก/ในพื้นที่ ทั้งหมด กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ทะเบียนผู้มารับบริการ ทะเบียนติดตามความครอบคลุม

  33. การจัดทำทะเบียนรายงานการจัดทำทะเบียนรายงาน รายงาน ผลการปฏิบัติงาน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ทะเบียนผู้รับบริการ ทะเบียนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน • ชื่อ • อายุ • ที่อยู่ • ชนิดของวัคซีนที่ได้รับ • วันที่ได้รับวัคซีน • ชื่อ • อายุ • ที่อยู่ • ชนิดของวัคซีนที่ได้รับ

  34. ทะเบียนผู้มารับบริการวัคซีน dTในผู้ใหญ่

  35. ทะเบียนผู้มารับบริการวัคซีน dTและ influenza ในหญิงตั้งครรภ์

  36. ทะเบียนผู้มารับบริการวัคซีน MRในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข

  37. ทะเบียนติดตามความครอบคลุมวัคซีน dTและ influenza ในหญิงตั้งครรภ์

  38. ทะเบียนติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dTในผู้ใหญ่

  39. ทะเบียนติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข

  40. การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีนการคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน • เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในกลุ่มผู้ใหญ่ • การวัดความสำเร็จการดำเนินงานการให้บริการวัคซีนในผู้ใหญ่

  41. การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีนการคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน

  42. การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีนการคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีน การคำนวณความครอบคลุม dTในผู้ใหญ่ dTในหญิงตั้งครรภ์ Influenza ในหญิงตั้งครรภ์ MR ในนักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุข กำหนดการให้วัคซีน เกณฑ์การพิจารณา ความครอบคลุม วิธีการคำนวณ

  43. การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีนdTในคลินิกวัคซีนในผู้ใหญ่การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีนdTในคลินิกวัคซีนในผู้ใหญ่

  44. เกณฑ์การพิจารณาความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่

  45. เกณฑ์การพิจารณาความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่

  46. การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ รพ.สต. สีชมพู การให้วัคซีน dTในผู้ใหญ่ ปี 2561 ดังนี้

  47. การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของคอตีบ การให้วัคซีนในผู้ใหญ่ เริ่มให้วัคซีนdTตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2561 ซึ่งจะมีระยะเวลาการให้บริการวัคซีนdTในกลุ่มเป้าหมาย เป็นระยะเวลา 1 ปี ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักในผู้ใหญ่ปี 2562 = 3 X 100 = 75% 4

  48. การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในผู้ใหญ่ แทนค่า ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของคอตีบ การให้วัคซีนในผู้ใหญ่ เริ่มให้วัคซีนdTตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2561 ซึ่งจะมีระยะเวลาการให้บริการวัคซีนdTในกลุ่มเป้าหมาย เป็นระยะเวลา 1 ปี ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคอตีบ-บาดทะยักในผู้ใหญ่ไตรมาส 3 ปี 2562 = 3 X 100 = 75% 4

  49. การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีนdTในหญิงตั้งครรภ์การคำนวณครอบคลุมการได้รับวัคซีนdTในหญิงตั้งครรภ์

More Related