150 likes | 368 Views
มติคณะรัฐมนตรี หน่วยงานราชและรัฐ ร่วมใจประหยัดพลังงาน. 4. 1. 5. บาท/ลิตร. ตัดงบประมาณด้านสาธารณูปโภค ปี 2546 ลง 5% + นำเงินที่เหลือจ่ายไปเป็นรางวัลได้. ให้หน่วยงานราชและรัฐ เป็นผู้นำใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ.
E N D
มติคณะรัฐมนตรีหน่วยงานราชและรัฐ ร่วมใจประหยัดพลังงาน 4 1 5 บาท/ลิตร ตัดงบประมาณด้านสาธารณูปโภค ปี 2546 ลง 5% +นำเงินที่เหลือจ่ายไปเป็นรางวัลได้ ให้หน่วยงานราชและรัฐ เป็นผู้นำใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ให้หน่วยงานราชและรัฐเป็นผู้นำประหยัดพลังงาน +ปรับลดงบปี2547 ไตรมาส 4 ลง 10% ก.ย. 48 27 ก.ค. 48 25 มิ.ย. 48 23 มี.ค. 48 22 ต.ค. 47 22 ส.ค. 47 21 ม.ค. 47 16 “ราคาน้ำมันสูง” “เวิลด์เทรด เซ็นเตอร์” “สงครามอเมริกากับอิรัก” 2548 2547 2544 2546 2545 2543 6 ให้ทุกหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจลดใช้พลังงานลงร้อยละ 10-15 ให้ส่วนราชการลดใช้พลังงานลงให้ได้อย่างน้อย 5% + ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามจะมีโทษทางวินัย 2 3 ปี’ 2547หน่วยงานระดับกรม จาก 314 หน่วยงาน รายงานเพียง 170 หน่วยงาน
การกำหนดเป็น KPI ปี 2549 มติ 2548 http://www.opdc.go.th/ • คณะรัฐมนตรี ในการประชุมเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2548 • ให้ทุกหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจลดใช้พลังงานลงร้อยละ 10-15 เทียบกับปริมาณการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงของปีงบประมาณ 2546 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดผลงาน (Key Performance Index: KPI) ของทุกหน่วยงาน เริ่มจากปีงบประมาณ 2549 โดยสำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานราชการ
หนังสือแจ้งจาก สำนักงาน ก.พ.ร.
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ2549
http// www.e-report.energy.go.th Address ดูข้อมูลหน่วยงานแต่ละจังหวัด เข้าระบบ โดยต้นสังกัดกำหนด Password ฐานข้อมูล คู่มือใช้ระบบ ดูชื่อผู้ประสานงาน สนพ. • ทั้งนี้...ข้อมูลทั้งหมดที่มีใน e-report • จำนวนหน่วยงานที่มีทั้งหมด..................ขึ้นอยู่กับต้นสังกัดแต่ละชั้น จะบันทึกในฐานข้อมูล • ความถูกต้อง ครบถ้วน ของข้อมูล..........ขึ้นอยู่กับหน่วยงานเจ้าของข้อมูลเป็นผู้บันทึก
น้ำมัน ไฟฟ้า x=0 5<X≤10 (หรือ 15) การประเมินผลมิติที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 9 5 1 1 คะแนน 1 คะแนน 3 3 คะแนน 4 2 มีข้อมูลในฐานข้อมูลการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน (ปีฐาน และปี 49)ครบถ้วน ทบทวนมาตรการ/แนวทาง+ดำเนินการแล้วเสร็จครบถ้วน พิจารณาจากผลการลดใช้พลังงาน 0<X≤5 ดำเนินการ = 1 ไม่ดำเนินการ = 0 = 0.5 = 0.5 = 0.5 มีครบ = 0.5 ไม่ครบ = 0 โดยระบบอัตราก้าวหน้า (Progressive Rate) = 0.5 = 0.5 = 0.5 มีครบ = 0.5 ไม่ครบ = 0 โดยระบบอัตราก้าวหน้า (Progressive Rate) • กรณีไม่มีฐานข้อมูลปีงบประมาณ 2546 • ให้ใช้ข้อมูลปีงบประมาณ 2548 เป็นปีฐานแทน • ทั้งนี้ ต้องมีเหตุจาก • ได้รับการจัดตั้งภายหลังปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 • เพิ่งแยกหรือจัดเก็บปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ด้วยตนเอง ภายหลังปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 เช่น การแยกมิเตอร์ แยกสำนักงานจากหน่วยงานอื่น หรืออื่นๆ • มีเหตุสุดวิสัยเป็นเหตุให้ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 เอกสารชำรุด สูญหาย เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ในปีนั้น เป็นต้น วิธีคำนวณผลการลดใช้พลังงาน ถ้าปีงบประมาณ 2548 ใช้พลังงานเพิ่มขึ้น จะได้เต็ม เมื่อลดใช้พลังงานได้ร้อยละ 15 ขึ้นไป กรณีไม่มีฐานข้อมูลปีงบประมาณ 2548 ให้ถือว่าปีงบประมาณ 2548 ใช้พลังงานเพิ่มขึ้น
ขั้นตอนที่ ขั้นตอนที่ 4 5 น้ำมัน ไฟฟ้า ไฟฟ้า x=0 5<X≤10 (หรือ 15) ถ้า เกิน 5 นำส่วนเกินไปประเมินขั้นที่ 5 A 5 3 4 การประเมินขั้นตอนที่ 5 3 3 คะแนน 4 โดยระบบอัตราก้าวหน้า (Progressive Rate) พิจารณาจากผลการลดใช้พลังงาน 1 0<X≤5 = 0.5 คะแนน = 0.5 = 0.5 ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (น้ำมัน) ปี 2546 – ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (น้ำมัน) ปี 2549 ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (น้ำมัน) ปี 2546 = 0.5 คะแนน = 0.5 = 0.5 X 100 3 2 ตัวอย่าง =9.30 % A ปี 2548 ใช้เพิ่มขึ้น ปี 2548 ใช้ลดลง = 0. 22 คะแนน = 0. 43 คะแนน 4.30 4.30 5.00 9.30 - 5 = 4.30 ( - 5) ( - 5) X 0.5 X 0.5 A A A X 0.5 5 10 5 5<X≤15 5<X≤10 0<X≤5 5 3 4 = 0. 43 คะแนน = 0.5 = 0.5 รวม = 1.43 คะแนน ปี 2548 ใช้ลดลง = 0. 22 คะแนน = 0.5 = 0.5 รวม = 1.22 คะแนน ปี 2548 ใช้เพิ่มขึ้น
การคิด KPI ด้านประหยัดพลังงานส่วนจังหวัด กระทรวง มหาดไทย กระทรวง กรม จังหวัด ทุกหน่วยงาน ในภูมิภาค ทุกหน่วยงาน ในส่วนกลาง ทุกหน่วยงาน ใต้การบริหาร ของผู้ว่าราชการ หน่วยงานที่ไม่ได้ตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง • หน่วยงานที่ไม่อยู่ในกรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • หน่วยงานท้องถิ่น เช่น อบจ., อบต., เทศบาล, ... • หน่วยงานอิสระที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี เช่น กลต., กกต., ... • หน่วยงานปกครองรูปแบบพิเศษ เช่น กทม., พัทยา., ... ปี 2548 ดูความครบถ้วนเฉพาะหน่วยงานระดับจังหวัด
น้ำมัน ไฟฟ้า x=0 5<X≤10 (หรือ 15) การประเมินผล กรณีส่วนจังหวัด การพิจารณาใช้ขั้นตอนเช่นเดียวกับส่วนกลาง 1 1 คะแนน 1 คะแนน 2 5 3 3 คะแนน 4 มีข้อมูลในฐานข้อมูลการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน (ปีฐาน และปี 49)ครบถ้วน ทบทวนมาตรการ/แนวทาง+ดำเนินการแล้วเสร็จครบถ้วน พิจารณาจากผลการลดใช้พลังงาน 0<X≤5 เต็ม = 0.5 = 0.5 = 0.5 = 0.5 ตามสัดส่วนจำนวนหน่วยงานที่ดำเนินการ จำนวนหน่วยงานทั้งหมด ตามสัดส่วนจำนวนหน่วยงานที่ข้อมูลครบ จำนวนหน่วยงาน ทั้งหมด ความครบถ้วนของฐานข้อมูล ตาม ≥50% ด้านไฟฟ้า/ด้านน้ำมัน ผ่าน 0.25 คะแนน และประเมินผลรวมของหน่วยงานที่มีข้อมูลครบถ้วน 1 เต็ม = 0.5 = 0.5 = 0.5 = 0.5 เว้นแต่ การพิจารณาคะแนน เป็นสัดส่วนดังนี้ 5 3 4 1 2 จำนวนหน่วยงานที่มีข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า(น้ำมัน) ปีฐาน และ ปีงบประมาณ 2549 ครบ 100% จำนวนหน่วยงานหน่วยงานทั้งหมดในสังกัดจังหวัด + จำนวนหน่วยงานทั้งหมดในสังกัดส่วนกลางแต่มีที่ตั้งปฏิบัติงานในจังหวัด จำนวนหน่วยงานที่มีการทบทวนแนวทางประหยัดไฟฟ้า/น้ำมัน 2549 ครบ 100% จำนวนหน่วยงานหน่วยงานทั้งหมดในสังกัดจังหวัด + จำนวนหน่วยงานทั้งหมดในสังกัดส่วนกลางแต่มีที่ตั้งปฏิบัติงานในจังหวัด รวมปริมาณการใช้ไฟฟ้า(น้ำมัน) ปีงบประมาณ 2546– รวมปริมาณการใช้ไฟฟ้า(น้ำมัน) ปีงบประมาณ 2549 รวมปริมาณการใช้ไฟฟ้า(น้ำมัน)ปีงบประมาณ 2546 x 100
การประเมินผลมิติที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 9
ตัวอย่าง: ผังการรายงานข้อมูลจ. XXXXX ราชการส่วนกลางราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานย่อยภายใต้การบริหารส่วนกลางและส่วนภูมิภาค IT ไม่พร้อม IT พร้อม IT ไม่พร้อม IT พร้อม หน่วยงานผู้แทนกระทรวงประจำจังหวัด จังหวัดXXXXX www.e-report.energy.go.th
แนวทางกำหนดเป้าหมายในระยะต่อไปแนวทางกำหนดเป้าหมายในระยะต่อไป • การกำหนดเป้าหมายลดใช้พลังงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ส่งผลให้เกิดความไม่เป็นธรรม • จัดทำดัชนีการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index – EUI) โดยการวัดการใช้พลังงานของหน่วยงานราชการในรูปแบบที่นำลักษณะการทำงานของหน่วยงานมาใช้ประกอบการวัด ซึ่งทำให้หน่วยงานราชการ สามารถวิเคราะห์หาค่าดัชนีการใช้พลังงานของหน่วยงานได้ด้วยตนเองโดยข้อมูลที่มีอยู่