1 / 71

การสื่อสารข้อมูลและ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การสื่อสารข้อมูลและ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์. พัฒนาการสื่อสารข้อมูล. ระบบโทรศัพท์. ระบบโทรเลข. พัฒนาการสื่อสารข้อมูล.

ekram
Download Presentation

การสื่อสารข้อมูลและ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  2. พัฒนาการสื่อสารข้อมูลพัฒนาการสื่อสารข้อมูล ระบบโทรศัพท์ ระบบโทรเลข

  3. พัฒนาการสื่อสารข้อมูลพัฒนาการสื่อสารข้อมูล • ในปี 1876 Alexander Graham Bellแสดงให้เห็นว่าสามารถเปลี่ยน สัญญาณเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ แล้วส่งพลังงานไฟฟ้าออกไป ผู้รับก็จะต้องแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของระบบโทรศัพท์

  4. ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน สำนักงานสาขาใหญ่ สำนักงานสาขา 1 โรงงาน 1 Mainframe Computer สำนักงานสาขา 2 โรงงาน 2 Mini Computer คลังสินค้า การสื่อสารข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ

  5. ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน การสื่อสารข้อมูลเพื่อการบริการ WWW Server Client การจองตั๋ว การค้นหาข้อมูล shopping

  6. ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน • ธนาคาร • การโอนเงินระหว่างธนาคาร • การโอนเงินระหว่างประเทศ • ATM • ตลาดหลักทรัพย์ • การซื้อขายหุ้น การสื่อสารข้อมูลด้านธุรกิจการเงิน

  7. ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน • e-mail • voice-mail • video conference การสื่อสารข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสาร

  8. ความหมายของการสื่อสารข้อมูลความหมายของการสื่อสารข้อมูล • การรับส่ง หรือแลกเปลี่ยนข้อมูล และสารสนเทศระหว่างต้นทาง และปลายทาง โดยผ่านตัวกลางส่งข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร เช่น สายเคเบิล คลื่นวิทยุ • โดยมีกฎเกณฑ์และขั้นตอนในการแลกเปลี่ยนข้อมูล เพื่อให้มีความถูกต้องของข้อมูลที่ทำการแลกเปลี่ยนกัน

  9. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล 0001010111010011010111 1. ผู้ส่ง(Sender) 2. ผู้รับ (Receiver) 3. ข้อมูล/ข่าวสาร (Message) 4. ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel) 5. โปรโตคอล(Protocol)

  10. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล

  11. ผู้ส่ง (Sender) /ผู้รับ (Receiver) • ผู้ส่ง/อุปกรณ์ส่ง ทำหน้าที่จัดส่งข้อมูลข่าวสาร • ผู้รับ/อุปกรณ์รับ ทำหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่ง • อุปกรณ์ที่รับ-ส่งข้อมูลมี 2 ประเภท • DTE (Data Terminal Equipment)อุปกรณ์ที่เป็นแหล่งกำเนิดหรือรับข้อมูล เช่น Terminal Computer, Printer, Client/Server Computer • DCE (Data Communications Equipment)อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล เช่นModem, จานไมโครเวฟ , Repeater

  12. ข่าวสาร (Message) • ข่าวสารประกอบด้วยข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้ส่งมอบระหว่างกัน ซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบการสื่อสาร • ข่าวสารสามารถเป็นได้ทั้งข้อมูลที่เป็น ข้อความ ตัวเลข เสียง รูปภาพ วิดีโอ หรือมัลติมีเดีย

  13. ช่องทางการสื่อสาร (Channel) • ตัวกลางส่งข้อมูลหรือเส้นทางที่ใช้ในการสื่อสาร เพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง • ตัวกลางส่งข้อมูลที่ใช้สาย เช่น • สายโคแอกเซียล สายไฟเบอร์ออปติก สายโทรศัพท์ เป็นต้น • ตัวกลางส่งข้อมูลแบบไร้สาย เช่น • คลื่นไมโครเวฟ ดาวเทียม คลื่นวิทยุ เป็นต้น

  14. โปรโตคอล (Protocol) • กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่ใช้สำหรับการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้การสื่อสารระหว่างผู้รับ-ผู้ส่ง สามารถเข้าใจในภาษาเดียวกันและสื่อสารกันได้ • มาตรฐานสากล(International Standards) • วิธีการส่งข้อมูล(Transmission) • การอินเตอร์เฟส(Interface) • การเข้ารหัส(Coding) • การตรวจสอบข้อผิดพลาด(Error Detection)

  15. Communication Channel DTE DCE DCE DTE DTE/DCE Interface DTE/DCE Interface การสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางระบบเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ

  16. การสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางระบบเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (ต่อ) • โมเด็ม (Modem) • อุปกรณ์สำคัญที่ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ระยะไกล หรือใช้สำหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต • โมเด็มทำการแปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ (Digital) ให้เป็นสัญญาณเสียง (Analog) เพื่อส่งผ่านไปยังสายโทรศัพท์ • ในขณะเดียวกันก็สามารถแปลงกลับจากสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์

  17. เครือข่ายคอมพิวเตอร์(Computer Network) • เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศและใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน โดยผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายได้ในหลาย ๆ รูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้

  18. ข้อดีของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ข้อดีของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • ความสะดวกในการสื่อสาร • การสื่อสารผ่านอีเมล์ การสนทนา และการประชุมร่วมกันภายในเครือข่าย • สะดวกในการดูแลระบบ • สามารถดูแลและบริหารระบบได้จากที่เดียว • ใช้ข้อมูลร่วมกัน • การมีฐานข้อมูลอยู่ส่วนกลาง ซึ่งจัดเก็บบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และผู้ใช้งานบนเครือข่ายสามารถใช้ข้อมูลและสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ แต่การเข้าถึงข้อมูลนั้นขึ้นอยู่กับการกำหนดสิทธิการใช้งานของแต่ละบุคคลด้วย

  19. ข้อดีของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์(ต่อ)ข้อดีของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์(ต่อ) • ใช้ฮาร์ดแวร์ร่วมกัน • การใช้เครื่องพิมพ์ พื้นที่ในดิสก์ร่วมกันบนเครือข่าย • ใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน • มีซอฟต์แวร์ที่จัดเก็บบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เมื่อผู้ใช้งานต้องการใช้ซอฟต์แวร์ดังกล่าว ก็สามารถเรียกใช้งานซอฟต์แวร์นั้นแต่ต้องเป็นซอฟต์แวร์ที่สนับสนุนผู้ใช้หลายคน (Network Version)

  20. ข้อจำกัดของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ข้อจำกัดของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การเรียกใช้ข้อมูลทำได้ช้า • การอ่าน/เขียนจะทำได้ช้ากว่าการอ่าน/เขียนกับฮาร์ดดิสก์ในเครื่อง • ข้อมูลไม่สามารถใช้งานได้ทันที • ถ้ามีคนอื่นใช้งานก่อนก็ต้องรอ เช่น เครื่องพิมพ์ หรือแฟ้มข้อมูล • ยากต่อการควบคุมและดูแล • เสี่ยงต่อการถูกขโมยข้อมูล หรือติดไวรัสคอมพิวเตอร์

  21. การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • โหนด (Node) อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ หรือ อุปกรณ์หน่วยความจำสำรอง • ไคลแอนต์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์รับบริการ (Client)เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ร้องขอและใช้ทรัพยากรจากโหนดอื่น ๆ • เซิร์ฟเวอร์ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการ (Server)เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อนุญาตให้โหนดอื่น ๆ ใช้ทรัพยากร • เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการไฟล์, บริการพิมพ์, บริการสื่อสาร, บริการเว็บ, บริการฐานข้อมูล

  22. Node Computer Network

  23. รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย(Computer Network Topology) • อธิบายโครงร่างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบต่าง ๆ ว่ามีการจัดการเครือข่ายทางกายภาพและวิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายอย่างไร รวมถึงลักษณะการใช้งานเครือข่ายและการแลกเปลี่ยนทรัพยากรต่าง ๆ • Bus Topology • Star Topology • Ring Topology • Fully Connected Topology • Combined Topology

  24. Work station Mainframe Backbone File Server Bus Topology

  25. File Server Work station Printer Star Topology

  26. File Server Mainframe Work station Ring Topology

  27. File Server Mainframe Work station Fully Connected Topology

  28. Ring Topology Fully Connection Topology Bus Topology Star Topology Combined Topology

  29. ประเภทของเครือข่าย LAN(Local Area Networks) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดของเครือข่ายอยู่ภายในตึกหรือการเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างตึกที่มีระยะทางใกล้ๆกันไม่เกิน 10 กม. มีอัตราในการส่งข้อมูลสูง MAN(Metropolitan Area Networks) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดของเครือข่ายครอบคลุมในระดับตัวเมืองหรือจังหวัดเช่นการส่งข้อมูลด้วยคลื่นวิทยุการแพร่ภาพด้วยระบบเคเบิลทีวี WAN(Wide Area Networks) ระบบเครือข่ายที่ครอบคลุมทั้งประเทศและทั่วโลกใช้ดาวเทียมหรือระบบเครือข่ายโทรศัพท์ช่วยในการส่งข้อมูลมีอัตราการส่งข้อมูลต่ำ

  30. ประเภทของเครือข่าย (ต่อ) MAN LAN WAN

  31. MAN MAN LAN LAN LAN LAN LAN LAN LAN LAN MAN MAN LAN LAN LAN LAN LAN LAN LAN LAN ประเภทของเครือข่าย (ต่อ) WAN

  32. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • ระบบเครือข่ายแบบ Baseband: • เป็นการสื่อสารที่สายสัญญาณหรือตัวกลางสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในขณะใดขณะหนึ่ง เช่น ระบบโทรศัพท์ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเครื่องพิมพ์/จอภาพ เป็นต้น • ระบบเครือข่ายแบบ Broadband : • เป็นการสื่อสารที่สายสัญญาณหรือตัวกลางสามารถส่งได้หลายช่องสัญญาณในขณะใดขณะหนึ่ง เช่น Cable TV

  33. การประมวลผลข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์การประมวลผลข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • ระบบประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง (Centralized Processing) • ระบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลเอนต์-เซิร์ฟเวอร์ (Client-Server Processing) • ระบบการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Processing)

  34. ระบบประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง (Centralized Processing) • การประมวลผลทั้งหมดเกิดที่เครื่องหลักเพียงเครื่องเดียว ซึ่งมักจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม • โหนดต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางอาจจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการประมวลผลด้วยตัวเองเพียงเล็กน้อย หรือไม่มีเลยก็ได้ • ปัจจุบันนิยมนำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาทำเป็นเครื่องเทอร์มินัลโดยการติดตั้งซอฟต์แวร์พิเศษ • เครื่องที่เชื่อมต่อเข้ามาทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากเครื่องศูนย์กลางเท่านั้น

  35. ระบบประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง (Centralized Processing) (ต่อ) • ข้อดี – การประมวลผลทั้งหมดเกิดขึ้นอยู่ที่ศูนย์กลาง สามารถควบคุมซอฟต์แวร์และข้อมูลได้ง่าย • ข้อเสีย - ผู้ใช้ไม่สามารถควบคุมการทำงานทั้งหมดด้วยตนเอง

  36. ระบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลแอนต์-เซิร์ฟเวอร์ (Client-Server Processing) • ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่องทำหน้าที่ให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ภายในเครือข่าย • นิยมเรียกเครื่องให้บริการนี้ว่า เซิร์ฟเวอร์ และเรียกเครื่องรับบริการว่า ไคลแอนต์ • เครื่องเซิร์ฟเวอร์จะจัดสรรทรัพยากร เช่น เว็บเพจ ฐานข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ และฮาร์ดแวร์ ให้กับเครื่องไคลแอนต์ตามที่ร้องขอ • นำข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลจาก Server มาแสดงผลในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม • Client (เครื่องลูกข่าย) ทำหน้าที่ในการโต้ตอบและรับข้อมูลจากผู้ใช้

  37. ระบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลเอนต์-เซิร์ฟเวอร์ (Client-ServerProcessing) (ต่อ) • ข้อดี – ความสามารถในการบริหารระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ, มีโปรแกรมจัดการเครือข่ายทีสามารถควบคุมดูแลการทำงานของระบบเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ข้อเสีย - ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการซ่อมบำรุงค่อนข้างสูง

  38. ระบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลเอนต์-เซิร์ฟเวอร์ (Client-ServerProcessing)(ต่อ)

  39. ระบบการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย(Distributed Processing ) • การประมวลผลที่ได้รับการพัฒนาในขั้นต่อมา • กระจายการประมวลผลไปยังเครื่องต่าง ๆ ที่เชื่อมกันอยู่ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และนำผลลัพธ์มารวมกัน • ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการประมวลผลของระบบโดยรวม • ลดจำนวนข้อมูลที่ต้องส่งผ่านเครือข่าย

  40. Distributed Processing

  41. Local Area Network (LAN) • เครือข่ายระยะใกล้ ระดับท้องถิ่น เช่นในห้อง ในอาคาร หรืออาคารใกล้เคียง • มีระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 30 เมตร • เป็นเครือข่ายที่ใช้เพื่อสื่อสารกันภายในองค์กร และ เป็นเครือข่ายพื้นฐานสำหรับเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆอีกด้วย เช่น เครือข่ายอินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ต เป็นต้น • ข้อดี ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่สามารถใช้ร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ หรือสแกนเนอร์

  42. Local Area Network (LAN) (ต่อ) • ชนิดการเชื่อมต่อ มี 2 รูปแบบ • เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ (Server-based Networking) • เครือข่ายแบบเท่าเทียมกัน (Peer-to-Peer Networking)

  43. Local Area Network (LAN) (ต่อ) • เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ (Server-based Networking) • มีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องที่เรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ (Server)ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากรต่าง ๆ แก่เครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งเรียกว่า ไคลเอนท์ (Client) • เรียกการทำงานที่ด้านไคลเอนท์ว่า Front-End Processing • เรียกการทำงานในส่วนของเซิร์ฟเวอร์ว่า Back-end Processing

  44. Local Area Network (LAN) (ต่อ) • เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ (Server-based Networking) • หน้าที่ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ • ควบคุมความปลอดภัยในระบบเครือข่าย • จัดการกับความคับคั่งในระบบเครือข่าย • ให้บริการทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ข้อมูล โปรแกรม หรือการขอใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ตามแต่เครื่องไคลเอนท์จะร้องขอ

  45. Server-based networking Server-based Networking

  46. Local Area Network (LAN) (ต่อ) • เครือข่ายแบบเท่าเทียมกัน (Peer-to-Peer Networking) • คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายนี้ จะสามารถแบ่งปันทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ไฟล์ เครื่องพิมพ์ เพื่อใช้กันภายในเครือข่ายได้ • การเชื่อมต่อแบบนี้ มักทำในเครือข่ายขนาดเล็กที่มีการเชื่อมต่อกันไม่เกิน 10 เครื่อง ซึ่งอาจเรียกว่า เวิร์กกรุ๊ป (Workgroup) • แต่ละเครื่องสามารถติดต่อกันได้โดยตรง

  47. Local Area Network (LAN) (ต่อ) Peer-to-Peer Networking

  48. Local Area Network (LAN) (ต่อ) • ข้อดีข้อเสียของเครือข่ายทั้ง 2 แบบ

  49. ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบ LAN • เครื่องบริการและสถานีงาน (Server and Workstation) • Network Operating System (NOS) • แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card-NIC) • ระบบการเดินสาย (Cabling System) • ทรัพยากรและอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกัน

  50. Server และ Workstation • Server (เครื่องบริการ)ทำหน้าที่ให้บริการต่าง ๆ แก่สถานีงาน • File Server (บริการแฟ้มข้อมูล) • Application Server / Database Server • Print Server (บริการเครื่องพิมพ์) • Server อาจให้บริการเพียงหนึ่งอย่างหรือหลายอย่างพร้อมกันก็ได้ • สถานีงาน (Workstation)คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้งาน ใช้ในการติดต่อเข้าสู่เครือข่าย

More Related