200 likes | 420 Views
แนวโน้มราคาบุหรี่ภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรี ( FTA) ของประเทศไทย. รศ.ดร.อิศรา ศานติศาสน์ ศูนย์ศึกษานโยบายเพื่อการพัฒนา (CDePS) คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุมวิชาการ บุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5 5-6 มิถุนายน 2549. การค้าระหว่างประเทศและการค้าเสรี.
E N D
แนวโน้มราคาบุหรี่ภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) ของประเทศไทย รศ.ดร.อิศรา ศานติศาสน์ ศูนย์ศึกษานโยบายเพื่อการพัฒนา (CDePS) คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุมวิชาการ บุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5 5-6 มิถุนายน 2549
การค้าระหว่างประเทศและการค้าเสรีการค้าระหว่างประเทศและการค้าเสรี • การค้าระหว่างประเทศช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ละประเทศผลิตและส่งออกสินค้าที่ตนเองมีความพร้อมและได้เปรียบ และนำเข้าสินค้าอื่นจากประเทศอื่น • มีความเข้าใจผิดว่าการเปิดประเทศยอมให้มีการนำเข้าและส่งออกสินค้าได้ แม้ยังมีอุปสรรคทางการค้า คือการค้าเสรี • แต่จริง ๆ แล้วการค้าเสรีคือการค้าระหว่างประเทศที่ไม่มีอุปสรรคทางการค้า ไม่ว่าจะเป็นภาษีนำเข้าหรืออุปสรรคอื่น ๆ เช่น โควต้า
ไทยลงนามในข้อตกลงการค้าเสรีกับหลายประเทศ เช่น • AFTA กับกลุ่มประเทศอาเซียนในปี 2535 และมีผลสมบูรณ์ในปี 2551 • FTA กับสหรัฐอเมริกาเมื่อ 23 ตุลาคม 2545 • FTA-ASEAN กับจีนเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2545 • FTA กับบาห์เรนเมื่อ 29 ธันวาคม 2545 • ITFTA กับอินเดียเมื่อ 9 ตุลาคม 2546 • FTA กับเปรูเมื่อ 20 ตุลาคม 2546 • CER-FTA กับออสเตรเลียมีผลบังคับตั้งแต่ 1 มกราคม 2548 • CEP กับนิวซีแลนด์เมื่อเมษายน 2548 มีผลบังคับตั้งแต่ 1กรกฎาคม 2548
ประเทศเหล่านี้บางประเทศเป็นคู่ค้าบุหรี่ที่สำคัญของไทยประเทศเหล่านี้บางประเทศเป็นคู่ค้าบุหรี่ที่สำคัญของไทย • การส่งออก สิงคโปร์ ฟิลลิปปินส์ และมาเลเซีย เป็นผู้ซื้อใบยาสูบพันธ์เวอร์จิเนีย ออสเตรเลีย ฟิลลิปปินส์ และมาเลเซีย เป็นผู้ซื้อใบยาสูบพันธ์โอเรียลตัล กัมพูชา และมาเลเซีย เป็นผู้ซื้อใบยาสูบพันธ์เบอร์เลย์ เมียนมาร์ สิงคโปร์ และลาว เป็นผู้ซื้อบุหรี่
ประเทศเหล่านี้บางประเทศเป็นคู่ค้าบุหรี่ที่สำคัญของไทยประเทศเหล่านี้บางประเทศเป็นคู่ค้าบุหรี่ที่สำคัญของไทย • การนำเข้า สหรัฐอเมริกา และจีนเป็นผู้ขายรายใหญ่สำหรับใบยาสูบพันธ์เบอร์เลย์และเวอร์จิเนีย มาเลย์เซีย กลุ่มประเทศอินโดจีน และเมียนมาร์เป็นผู้ขายใบยาสูบพันธ์ต่าง ๆ อินโดนีเซีย ฟิลลิปปินส์ มาเลย์เซีย และสิงคโปร์เป็นผู้ขายบุหรี่ที่มีส่วนแบ่งกว่า 80% ของการนำเข้าบุหรี่ทั้งหมด สหรัฐอเมริกาและจีน มีส่วนแบ่งประมาณ 7% จีน ฟิลลิปปินส์ และสิงคโปร์เป็นผู้ขายซิการ์รายใหญ่ให้กับไทย
ที่สำคัญคือกรณีของอินเดีย และจีน • ASEANไทยลดอัตราภาษีนำเข้าบุหรี่และยาสูบจากสมาชิกกลุ่ม ASEAN ลงเป็น 5% แล้ว นับแต่ปี 2543 • อินเดียไทยจะลดอัตราภาษีนำเข้าบุหรี่และยาสูบที่ผลิตในอินเดียจาก 60% เป็น 0% ในปี 2549 • จีน ไทยจะลดอัตราภาษีนำเข้าบุหรี่และยาสูบที่ผลิตในจีนจาก 60% เป็น 0% ในปี 2553 • FTA กับประเทศอื่น ๆ ก็เป็นไปในลักษณะเดียวกัน
โดยทฤษฎี การค้าเสรีนำไปสู่ Specialization ซึ่งส่งผลให้ ผลผลิตเพิ่มขึ้น บริโภคมากขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น ความเป็นอยู่ดีขึ้น
อัตราภาษีนำเข้าลดลงทำให้อัตราภาษีนำเข้าลดลงทำให้ ใบยานำเข้าราคาถูก ทำให้ต้นทุน การผลิตบุหรี่ในประเทศต่ำลง บุหรี่นำเข้าราคาถูกลงประชาชนสูบมากขึ้น การบริโภคเพิ่มขึ้น รายรับภาษีของรัฐเปลี่ยนไป
โดยผ่านทางโครงสร้างราคาบุหรี่โดยผ่านทางโครงสร้างราคาบุหรี่ ราคา c.i.f. ราคาโรงงาน + ภาษีนำเข้า +ภาษีสรรพสามิตและภาษีสุขภาพ + กำไร + ภาษีบำรุงท้องถิ่น + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ราคาขายปลีก
อัตราภาษีนำเข้าปี 2546 • บุหรี่ • AFTA 5% • ไม่ใช่ AFTA 22.5% • ใบยาสูบและอื่น ๆ • AFTA 5% • ไม่ใช่ AFTA 45 หรือ 60%
ภาษีอื่น ๆ ในปี 2546 • ภาษีสรรพสามิต = 75% (บุหรี่, 79% ในปัจจุบัน) 10% (ซิการ์) • ภาษีสุขภาพ = 2% ของมูลค่าภาษีสรรพสามิต • ภาษีบำรุงท้องถิ่น = ประมาณซองละ 1 บาท • ภาษีมูลค่าเพิ่ม = 7 %
แนวการศึกษาผลกระทบของ FTA วิธีการปกติ มุมมองอื่น ๆ ในกรณีบุหรี่ ราคาบุหรี่ที่ลดลง การเพิ่มขึ้นของการค้าระหว่างประเทศ การสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น CS and PS การผกผันของการค้าระหว่างประเทศ รายรับจากภาษี ผลต่อสุขภาพ
แต่บุหรี่เป็นสินค้าที่ถูกควบคุมราคาแต่บุหรี่เป็นสินค้าที่ถูกควบคุมราคา • ดังนั้น การที่อัตราภาษีนำเข้าลดลง ก็ไม่ได้ทำให้ราคาบุหรี่ถูกลงถ้ารัฐไม่ปรับราคาลงตามไปด้วย • ผลก็คือบริษัทบุหรี่ได้รับผลดีที่เกิดจาก FTA บุหรี่ไว้ทั้งหมด • บริษัทใดที่มี Import Content มาก ก็ได้มาก • นั่นคือบุหรี่นำเข้าได้กำไรเพิ่มขึ้นมากกว่าโรงงานยาสูบได้ • ในอีกด้านหนึ่ง รายรับภาษีบุหรี่ของรัฐบาลก็ลดลง
บุหรี่นำเข้า: กรณีไม่ปรับราคาขายปลีก ราคา t1 A t0 Pw +margin B Pw D ปริมาณ 0 M0 สวัสดิการเศรษฐกิจเปลี่ยน = dPS = B กำไรเปลี่ยน = (A+B)-A = B
บุหรี่ในประเทศ: กรณีไม่ปรับราคาขายปลีก ราคา S t1 A t0 B D ปริมาณ 0 M0 สวัสดิการเศรษฐกิจเปลี่ยน = dPS = B กำไรเปลี่ยน= (A+B)-A = B
ไม่ควรใช้วิธีปกติในการวิเคราะห์ผลของ FTA ในกรณีของบุหรี่และยาสูบ • บุหรี่และยาสูบเป็นสินค้าที่เรียกว่า Bad ไม่ใช่ Good • เป็นสิ่งเสพย์ติด เช่นเดียวกับ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทุกชนิด • เป็นสิ่งที่ทำลายเราเหมือนกับอุปกรณ์การเล่นการพนันทุกชนิด • ไม่อาจกล่าวได้ว่าการบริโภคสินค้าเหล่านี้เพิ่มขึ้นจะทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น
ผลกระทบของ AFTA อย่างเดียว ไม่ปรับราคาขายปลีก บุหรี่นำเข้า บุหรี่ในประเทศ กำไร11.27% กำไร0.02% รายรับภาษีของรัฐ 1,177 ล้านบาท รายรับภาษีของรัฐ 8 ล้านบาท
ถ้าปรับราคาขายปลีกไปตามสัดส่วนถ้าปรับราคาขายปลีกไปตามสัดส่วน บุหรี่นำเข้า บุหรี่ในประเทศ การบริโภค 380 ล้านบาท ( 89 ล้านมวน) การบริโภค 2.7 ล้านบาท (0.7 ล้านมวน) รายรับภาษี 1,027 ล้านบาท รายรับภาษี 7 ล้านบาท คนตายเพราะบุหรี่ 134 คนต่อปี
ทั้งหมดที่ประมาณมายังไม่รวม FTA กรณีอื่น ๆ • โดยเฉพาะกรณีของอินเดียและจีน • ทั้งสองประเทศมีต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าไทยและประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนซึ่งได้ประโยชน์จาก AFTA • ผลกระทบที่กำลังจะเกิดขึ้นกับไทยจึงน่าจะรุนแรงกว่าในกรณีของ AFTA
บุหรี่นำเข้าราคาถูกกว่าที่จะเริ่มทะลักเข้ามาบุหรี่นำเข้าราคาถูกกว่าที่จะเริ่มทะลักเข้ามา • จากอินเดียตั้งแต่ปีนี้ (2549) • จากจีนในอีก 4 ปีข้างหน้า (2553) ความรุนแรงจะมากกว่ากรณีของ AFTA • ซึ่งเป็นสิ่งที่จะต้องดูแลตรวจสอบต่อไป