380 likes | 644 Views
เสนอโดย นายชาติ ไชยสิทธิ์ นายกสมาคมพัฒนาชุมชน. โรงไฟฟ้าชุมชน พื้นที่บ้านเขาน้อย ตำบลดงปะคำ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. ที่มา : www.mdbc.gov.au. การผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2549. พลังงานทดแทน 1.0 %. รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ. ถ่านหินนำเข้า 3.8 %. 141,980 ล้านหน่วย.
E N D
เสนอโดยนายชาติ ไชยสิทธิ์ นายกสมาคมพัฒนาชุมชน โรงไฟฟ้าชุมชน พื้นที่บ้านเขาน้อย ตำบลดงปะคำ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
การผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2549 พลังงานทดแทน 1.0% รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ ถ่านหินนำเข้า 3.8% 141,980 ล้านหน่วย น้ำมันเตา 7.4% ลิกไนต์ 12.4% ก๊าซธรรมชาติ 66.2% พลังน้ำ 7.4% รับซื้อไฟฟ้า จากมาเลเซีย 1.7% น้ำมันดีเซล 0.1%
แนวทางแก้ไขด้านพลังงานแนวทางแก้ไขด้านพลังงาน • รัฐบาลกำหนดแนวทางด้านพลังงาน ลดการผลิตพลังงานตามแนวทางเดิมเหลือ 80% 20% ส่งเสริมการพึ่งพาพลังงานทดแทนในประเทศ • ส่งเสริมด้านการกำกับกิจการพลังงานทดแทนเชิงภาคีความร่วมมือ • ส่งเสริมกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานและการจัดการพลังงานชุมชน • ฯลฯ
โรงไฟฟ้าชีวมวล ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้เพื่อให้เกิดความร้อนในการผลิตไอน้ำทดแทนการใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล (น้ำมัน , ถ่านหิน , ก๊าซธรรมชาติ )
“ ชีวมวล” มูลสัตว์ มันสำปะหลัง เศษไม้ ซังข้าวโพด ของเสีย ชานอ้อย แกลบ
กระถิ่นยักษ์ กระถินยักษ์ อายุ 7 เดือน
ผลผลิตเฉลี่ยคิดเป็นน้ำหนักแห้ง/ไร่/ปี โดยจำแนกตามปริมาณน้ำฝนและระยะปลูก
หญ้าเนเปียร์ (Dwarf Napier) เนเปียร์เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี มีลำต้นใต้ดินเป็นแบบเหง้า ลักษณะทรงต้นเป็นกอพุ่ม ตั้ง ลำต้นอวบและเตี้ยกว่าหญ้าเนเปียร์ธรรมดา มีความสูงประมาณ 1-2 เมตร มีการแตกกอดี มีสัดส่วนของใบมากกว่าส่วนของลำต้น สามารถทนแล้งได้ดีพอสมควร ให้ผลผลิตน้ำหนักแห้งประมาณ 25 ตันต่อไร่ต่อปี การใช้ประโยชน์ : การตัดหญ้าเนเปียร์แคระไปเลี้ยงสัตว์ ควรตัดครั้งแรกที่อายุ 60-70 วันหลังปลูก และควรตัดครั้งต่อไปทุก 30-45 วัน ช่วงฤดูฝนหญ้าโตเร็วอาจตัดที่อายุน้อยกว่า 30 วัน
โรงไฟฟ้าชีวมวลกับชุมชนโรงไฟฟ้าชีวมวลกับชุมชน
โรงไฟฟ้าชีวมวล คือ รูปแบบหนึ่งของการใช้พลังงานทดแทน
โรงไฟฟ้าชีวมวล คือ รูปแบบหนึ่งของการใช้พลังงานทดแทน
ตัวอย่าง โรงไฟฟ้าชีวมวล เอ.ที. ไบโอพาวเวอร์ พิจิตร 1 ใน 62 โรงไฟฟ้าจากแกลบทั่วประเทศ
1. ระบบโรงไฟฟ้าชีวมวล ปัจจุบันเป็นระบบปิด ระบบการจัดการน้ำหมุนเวียนในโรงไฟฟ้า
2.ระบบการจัดการเถ้าฝุ่นละอองและขี้เถ้าในตนเอง2.ระบบการจัดการเถ้าฝุ่นละอองและขี้เถ้าในตนเอง มีระบบดักกรองฝุ่นขี้เถ้า ฝุ่นละอองและขี้เถ้าจะถูกดักเก็บ ไม่ปล่อยสู่อากาศและพื้นดิน
3. มีระบบจัดเก็บขึ้ถ้าแกลบเพื่อนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ -ขายให้โรงปุ๋ยชีวภาพ -ให้ชุมชนรอบโรงงานนำไปใช้ประโยชน์
หน่วยงานรับผิดชอบ • อุตสาหกรรม • สิ่งแวดล้อม • พลังงาน • กำกับกิจกรรมพลังงาน • อบต. • ผู้ใหญ่บ้าน • คณะกรรมการ • ชุมชน
ประโยชน์ของโครงการสู่ท้องถิ่นประโยชน์ของโครงการสู่ท้องถิ่น 1. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการขายเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่เคยปล่อยทิ้งไว้หรือเผากำจัดไปโดยเปล่าประโยชน์ เช่น แกลบ ฟางข้าว ซังข้าวโพด ต้นข้าวโพด เศษไม้ฯลฯ 2. เศรษฐกิจชุมชนคึกคักและเจริญเติบโต จากรายได้สู่ชุมชนผ่านทางภาษีท้องที่ที่โครงการต้องจ่าย การจ้างงานในชุมชน และการสร้างรายได้จากราคาผลผลิตทางการเกษตรที่คาดว่าจะดีขึ้น
3. ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอาชีพ และการสร้างงานฝีมือขึ้นในท้องถิ่น พร้อมกระตุ้นระบบเศรษฐกิจชุมชนด้วยเงินหมุนเวียนเปลี่ยนมือที่เพิ่มมากขึ้น 4. เพิ่มมูลค่าและลดปริมาณเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น ทำให้เกิดการบริหารจัดการกองแกลบและซังข้าวโพดและการเผาเศษวัสดุเหลือใช้ดังกล่าวอย่างเป็นระบบและถูกวิธี อันเป็นผลทำให้ท้องถิ่นสะอาดยิ่งขึ้น
5. จัดตั้ง “กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า” เพื่อนำเงินกองทุนมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้มีการพัฒนาที่ยั่งยืน 6. สร้างความมั่นคงด้านกระแสไฟฟ้าให้กับชุมชนและบริเวณใกล้เคียง เช่น ปัญหาไฟฟ้าตกและฟ้าดับในพื้นที่จะลดน้อยลง ฯลฯ และช่วยรองรับการเจริญเติบโตของชุมชนในอนาคต
7. เป็นสถานที่ศึกษาดูงานและเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชนและสำหรับสถานการศึกษาโดยทั่วไป และบุตรหลานของชาวบ้านในพื้นที่ 8. เป็นพลังงานทางเลือกที่ได้รับการยอมรับในทั่วโลกแล้วว่าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะช่วยเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานให้กับประเทศไทย และลดการพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ ศูนย์วิจัยพลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
9. ลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ผ่านกลไกการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ตามหลักกลไกสะอาด 10. สร้างชื่อเสียงให้กับชุมชนและประเทศชาติ โดยเฉพาะในเวทีระดับโลก เช่น องค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ฯลฯ ศูนย์วิจัยพลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผลกระทบด้านลบ • มีคู่แข่งในการนำชีวมวลไปใช้ประโยชน์ • เกิดความแตกแยกในชุมชนถ้ามีการคัดค้าน • กระบวนการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล จำเป็นต้องมีกระบวนการเผาไหม้ จึงเป็นสิ่งที่ชุมชนมีความกังวลเรื่องผลกระทบ ด้านเสียง ฝุ่นละออง น้ำเสีย อากาศ
การแก้ไขอุปสรรค • การตรวจสอบ / การวัดผลตลอดเวลา • สถานที่ตั้งของโรงไฟฟ้าว่ามีแหล่งน้ำเพียงพอ • ไม่ไกลแหล่งวัตถุดิบที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง • จุดเชื่อมโยงเข้าระบบไฟฟ้าหรือสถานีย่อยไฟฟ้าของกฟผ. • สถานที่ตั้งควรห่างจากชุมชน เพื่อลดผลกระทบระหว่างการก่อสร้าง • สร้างการสร้างโรงเก็บวัตถุดิบที่มีขนาดเพียงพอและสามารถป้องกันเสื่อมสภาพและการส่งกลิ่นรบกวน • จัดระบบการขนส่งวัตถุดิบที่จะเกิดผลกระทบกับวิถีชีวิตของชุมชน • ต้องมีเวทีสร้างความเข้าใจ และยอมรับเงื่อนไขของชุมชน
โจทย์ โรงไฟฟ้าที่สามารถสร้างประโยชน์ และเป็นเครื่องมือในการพัฒนาชุมชน จะต้องมีหน้าตาเป็นอย่างไร
คำถามที่ต้องหาคำตอบ • เอื้อประโยชน์ต่อชุมชน เช่นเป็นการพัฒนาอาชีพหรือทำให้ชุมชนมีความมั่งคงด้านอาชีพ • อยู่ร่วมกันอย่างเป็นมิตรไม่สร้างความแตกแยก • ไม่เป็นการส่งเสริมให้เกิดการปลูกพืชที่ทำลายสิ่งแวดล้อมของชุมชน • ลดการเผาวัสดุเหลือใช้การเกษตรแบบกลางแจ้งให้เป็นระบบปิดเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม • สามารถเกิดความมั่นคงด้านพลังงานของชุมชน • ชุมชนสามารถร่วมกันตัดสินใจรับหรือไม่รับแบบมีส่วนร่วมและโปร่งใส • ชุมชนมีความรู้และเข้าถึงเทคโนโลยีก่อนการตัดสินใจหรือยัง
หัวใจพลังชุมชน • สร้างกระบวนการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วมของชุมชนให้ความสำคัญต่อการให้ข้อมูลอย่างครบถ้วน จริงใจและโปร่งใส เชื่อถือได้ 2. จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับชุมชนเพื่อการเข้าถึงความรู้ เทคโนโลยี ก่อนการตัดสินใจ 3. ปฏิบัติตามระเบียบราชการและเงื่อนไขของชุมชน • แสวงหาเครื่องมือหรือกลไกในการประกอบการตัดสินใจเช่น องค์กรรัฐ / องค์กรเอกชน / องค์กรวิชาการ/องค์กรที่ชุมชนเชื่อถือฯลฯ
โรงไฟฟ้า 1,000 กิโลวัตต์ เชื้อเพลิงต่อวัน 20 ตัน/วัน x จำนวนวันที่โรงไฟฟ้าทำงานต่อปี 300 วัน/ปี = 6,000 ตันต่อปี ถ้าซื้อราคาตันละ 500 บาท เป็นเงิน 3,000,000 บาท/ปี ปริมาณใช้น้ำในระบบหมุนวน ที่ต้องใช้ต่อวัน ประมาณ 120 ลบ.เมตร สูญเสียน้ำจากการระเหย ประมาณ ดังนั้นต้องมีบ่อน้ำที่สามารถสำรองน้ำได้ 2 ปี ประมาณ ลิตร • ขี้เถ้าแกลบจะมีปริมาณร้อยละ 16 โดยน้ำหนัก
ก่อนก้าวพร้อมหรือยัง 1.ชีวมวล มีมั๊ยพอมั๊ย ข้อมูลด้านชีวมวลในพื้นที่เช่น จะหามาจากไหนเพิ่ม หรือคิดว่าจะหาอะไรเพิ่มเพื่อให้ชุมชนได้ประโยชน์มากที่สุด 2. สนใจมั๊ย ในเบื้องต้นชุมชนให้ความสำคัญหรือสนใจไหม 3.ทีมงานละมีมั๊ย สร้างกลไกการทำงานเพื่อใช้หลัก หัวใจพลังชุมชน 4.จะพากันไปที่ไหน อย่างไร ศูนย์วิจัยพลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
เริ่มก้าว • 1.พื้นที่ผลิตชีวมวลจำนวน 300ไร่ อยู่ที่ไหน • 2.สถานที่ตั้งของโรงไฟฟ้าอยู่ที่ไหน • -มีแหล่งน้ำเพียงพอ • -ไม่ไกลแหล่งวัตถุดิบ • -จุดเชื่อมโยงเข้าระบบไฟฟ้า • -สถานที่ตั้งควรห่างจากชุมชน • 3.โครงสร้าง/กลไกการขับเคลื่อน • 4.เวทีเพื่อสร้างแนวร่วม
เราพร้อมก้าวไปกับท่านเราพร้อมก้าวไปกับท่าน วิสัยทัศน์ : ชุมชนสามารถ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่เหมาะสมกับความเชื่อ วิถีวัฒนธรรมและอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างเป็นมิตร ขอบคุณครับ