770 likes | 1.24k Views
3.2 การผลิตและต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตร. 3.2.1 การผลิต (production) และฟังก์ชันการ ผลิต (production function) 3.2.2 การผลิต และต้นทุนการผลิต ในระยะสั้น 3.2.3 การผลิต และต้นทุนการผลิต ในระยะยาว 3.2.4 การตัดสินใจผลิตในกรณีต่างๆ เมื่อมีปัจจัยชนิดเดียว
E N D
3.2 การผลิตและต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตร 3.2.1 การผลิต (production)และฟังก์ชันการ ผลิต (productionfunction) 3.2.2 การผลิตและต้นทุนการผลิตในระยะสั้น 3.2.3 การผลิตและต้นทุนการผลิตในระยะยาว 3.2.4 การตัดสินใจผลิตในกรณีต่างๆ • เมื่อมีปัจจัยชนิดเดียว • เมื่อมีปัจจัยชนิดเดียวที่มีจำนวนจำกัด • เมื่อมีปัจจัยการผลิตหลายชนิด
3.2.1 การผลิต: Production หน่วยผลิต/ธุรกิจ ฟาร์ม กระบวนการผลิต/ เทคโนโลยีการผลิต กระบวนการที่ปัจจัยการผลิต ถูกเปลี่ยนให้เป็นผลผลิตหรือสินค้าและบริการ ปัจจัยการผลิต factor of productions, inputs, resources ผลผลิต: outputs
ฟังก์ชันการผลิต: production function ความสัมพันธ์ทางกายภาพระหว่างปัจจัยการผลิตที่ใช้กับผลผลิตที่ได้จากการผลิต ของธุรกิจหนึ่งๆ ณ เวลาหนึ่ง Q = f(x1 ,x2 ,x3 ,…xn) โดยที่ ผลผลิต = Q ปัจจัยการผลิต = x1 ,x2 ,x3 ,…xn อธิบายได้ว่าผลผลิต Q ที่ได้ขึ้นอยู่กับ (หรือเป็นผลมาจาก หรือเป็นฟังก์ชันของ) ปัจจัยการผลิต x1 ,x2 ,x3 ,…xn
ปัจจัยการผลิต Resources, factors, inputs ชนิดของปัจจัยการผลิต: • ที่ดิน: (Land) ค่าเช่า • แรงงาน:(Labor) ค่าจ้าง • ทุน :(Capital) ดอกเบี้ย • ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) กำไร
ประเภทปัจจัยการผลิต ประเภทของปัจจัยการผลิต: แบ่งตามความยืดหยุ่นของปริมาณที่นำมาใช้ได้ ณ เวลาหนึ่งมี 2 ประเภท • ปัจจัยคงที่ (fixed inputs):ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในช่วงเวลาที่พิจารณา • ปัจจัยผันแปร (variable inputs) :สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในช่วงเวลาที่พิจารณา
ผลผลิต ผลผลิตรวม (total product: TP) ผลผลิตทั้งหมดที่ได้จากการใช้ปัจจัยการผลิตผันแปรจำนวนต่างๆ ร่วมกับปัจจัยคงที่ที่มีอยู่ ผลผลิตเฉลี่ย(average product:AP) ผลผลิตทั้งหมด คิดเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของปัจจัยผันแปรที่ใช้ในการผลิต ผลผลิตเพิ่ม(marginal product: MP) ผลผลิตทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อเปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัยการผลิตผันแปร 1 หน่วย
ผลผลิต (ต่อ) • ผลผลิตรวม = TPผลผลิตทั้งหมดที่ได้จากการใช้ปัจจัยการผลิตผันแปร(= L)ณ ระดับต่างๆ • ผลผลิตเฉลี่ย (AP) • = TPL L • ผลผลิตเพิ่ม (MP) • = TPL L • (หรือ ถ้า L เพิ่มทีละ 1 หน่วย : L=1) • MP = TPLn – TPLn-1
ลักษณะความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิตกับผลผลิตลักษณะความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิตกับผลผลิต 1. ความสัมพันธ์ในทางบวก: ใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น ผลผลิตเพิ่มขึ้น ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต ปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิต 1.1 เพิ่มในอัตราคงที่ 1.3 เพิ่มในอัตรา ลดลง 1.2 เพิ่มในอัตรา เพิ่มขึ้น
ลักษณะความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิตกับผลผลิต(ต่อ)ลักษณะความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิตกับผลผลิต(ต่อ) 2. ความสัมพันธ์ในทางลบ : ใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น ผลผลิตลดลง ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต ปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิต 1.1 ลดในอัตรา คงที่ 1.2 ลดในอัตราลดลง 1.3 ลดในอัตราเพิ่มขึ้น
ลักษณะความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิตกับผลผลิต(ต่อ)ลักษณะความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิตกับผลผลิต(ต่อ) 3. ความสัมพันธ์คงที่: ใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น/ลดลง ผลผลิตเท่าเดิม ผลผลิต ปัจจัยการผลิต 0
3.2.2 การผลิตและต้นทุนการผลิตในระยะสั้น ระยะสั้น (short run period):ระยะเวลาที่สั้นจนกระทั่งผู้ผลิตไม่สามารถเปลี่ยนแปลง จำนวนหรือขนาดของปัจจัยการผลิตบางชนิดได้ Q = f (x1 ,x2 / x3 ,…xn ) โดยที่ x1 ,x2= ปัจจัยการผลิตผันแปร x3 ,…xn= ปัจจัยการผลิตคงที่ อธิบายได้ว่าผลผลิต Q ที่ได้ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัยการผลิตผันแปร x1และ x2 โดยกำหนดให้ปัจจัยการผลิต x3 ,…xnคงที่
ตัวอย่าง ผลผลิตข้าวโพดตามระดับของทุนที่ใช้ ต่อพื้นที่ 1 ไร่ ทุนผลผลิตรวมผลผลิตเพิ่มผลผลิตเฉลี่ย (หน่วย) TP (หน่วย) MP (หน่วย) AP (หน่วย) 0 0 1 10 2 23 3 37 4 52 5 70 6 85 7 99 8 110 9 117 10 120 11 118 0 10.0 11.5 12.3 13.0 14.0 14.2 14.1 13.75 13.0 12.0 10.6 10 13 14 15 18 15 14 11 7 3 -2
ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตเพิ่ม ผลผลิตข้าวโพด (หน่วย) 120 110 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 TP AP MP 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ทุน (หน่วย)
กฎแห่งการลดน้อยถอยลง (the law of diminishing return) “ถ้ามีการใช้ปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งๆเพิ่มขึ้นในส่วนที่เท่าๆ กัน ในระยะเวลาหนึ่ง โดยที่ปัจจัยการผลิตชนิดอื่น คงที่ผลผลิตรวมที่ได้จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงจุดหนึ่งที่ผลผลิตจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง และถ้ายังใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ผลผลิตรวมจะถึงจุดสูงสุด แล้วอาจลดลงในระยะต่อไป” *** เกิดกับการผลิตในระยะสั้น ***
กฎแห่งการลดน้อยถอยลง (the law of diminishing return ผลผลิตข้าวโพด (หน่วย) 120 110 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 TP I II III AP MP 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ทุน (หน่วย) Stage I = Increasing (เพิ่มขึ้น) ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นในอัตราเพิ่มเมื่อใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นแต่ละหน่วย Stage II = Diminishing (ลดน้อยถอยลง) ผลผลิตรวม เพิ่มขึ้นในอัตราลดลงเมื่อใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นแต่ละหน่วย Stage III = Decreasing (ลดลง) ผลผลิตรวมลดลงเมื่อใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นแต่ละหน่วย
ความสัมพันธ์ระหว่างค่า TP AP และ MP ผลผลิตข้าวโพด (หน่วย) 120 110 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 TP I II III AP MP 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ทุน (หน่วย) • จากภาพ • ทั้ง APและ MPเป็นค่าต่อเนื่องจาก TP • ช่วงที่ MP เพิ่มขึ้น TP จะเพิ่มขึ้นในอัตราเพิ่ม • ช่วงที่ MP ลดลง แต่ > 0 TP จะเพิ่มขึ้น • แต่เพิ่มในอัตราลดลง • เมื่อ MP เป็นลบ TP จะลดลง • ค่า TP จะสูงสุด เมื่อ MP มีค่าเท่ากับ 0 • ค่า TP เป็นผลรวมของ MP • ช่วง AP เพิ่มขึ้น MP จะเพิ่ม หรือ ลดก็ได้ • แต่ MP > AP • ช่วงที่ AP ลดลง MP < AP • ค่า MP จะเท่ากับ AP ณ จุด AP สูงสุด ***ณ ระดับปัจจัยการผลิตที่ใช้หนึ่งๆ ถ้าทราบค่าใดค่าหนึ่งของ TP MP AP จะสามารถคำนวณหา 2 ค่าที่เหลือได้***
ต้นทุนการผลิต (Costsof Production) ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปในการจัดหา/ใช้ปัจจัยการผลิต เพื่อทำการผลิตสินค้า • เมื่อผู้ผลิตรู้ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตที่ใช้ในกระบวนการผลิตกับผลผลิตที่ได้รับ ผู้ผลิตก็จะรู้จำนวนปัจจัยการผลิตที่ตนต้องใช้ และจากข้อมูลราคาปัจจัยการผลิต จะทำให้ผู้ผลิตสามารถคำนวณหาต้นทุนสำหรับการผลิตสินค้าจำนวนต่างๆ กันได้ • เมื่อนำต้นทุนการผลิตมาพิจารณาร่วมกับรายได้จากการขายสินค้า ณ ระดับราคาต่างๆ ก็จะทำให้ผู้ผลิตรู้ได้ว่าตนควรจะตัดสินใจผลิตสินค้าออกจำหน่ายเป็นจำนวนเท่าใด ณ ระดับราคาหนึ่งๆ
ต้นทุนการผลิตลักษณะต่างๆต้นทุนการผลิตลักษณะต่างๆ ต้นทุนค่าเสียโอกาส(Opportunity cost) หรือต้นทุนการเลือก(alternative cost) ต้นทุนแจ้งชัด(explicit cost) และต้นทุนไม่แจ้งชัด (implicit cost) ต้นทุนทางบัญชี (accounting cost)และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (economic cost) ต้นทุนเอกชน (private cost) และต้นทุนทางสังคม (social cost)
ต้นทุนการผลิตที่ใช้ในการวิเคราะห์หาปริมาณการผลิตต้นทุนการผลิตที่ใช้ในการวิเคราะห์หาปริมาณการผลิต จำแนกตามระยะเวลาในการผลิต: • ต้นทุนการผลิตในระยะสั้น (short-run cost) • ต้นทุนการผลิตในระยะยาว (long-run cost)
ต้นทุนระยะสั้น(Short-Run Costs) • ต้นทุนคงที่รวม TFC (Total Fixed Costs) เป็นต้นทุนจากการใชัปัจจัยคงที่ ซึ่งเป็นต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิต • ต้นทุนแปรผันรวม TVC (Total Variable Costs) เป็นต้นทุนจากการใช้ปัจจัยแปรผันซึ่งจะเปลี่ยนแปลงโดยตรงกับปริมาณการผลิต • ต้นทุนรวม TC (Total Cost) = TFC + TVC เป็นผลรวมของต้นทุนจากการใช้ปัจจัยการผลิตทั้งสองประเภท
TC TVC TFC ต้นทุนการผลิตรวม ต้นทุน TC = TFC + TVC 150 100 50 25 ปริมาณผลผลิต 0 5 10 15
ต้นทุนเพิ่ม (Marginal Costs)และ ต้นทุนเฉลี่ย (Average Costs) • ต้นทุนรวม = TC ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการใช้ปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิต(Q)ณ ระดับต่างๆ • ต้นทุนเฉลี่ย (AC) • = TCQ /Q • ต้นทุนเพิ่ม (MC) • = TCQ /Q
ต้นทุนเฉลี่ย (Average Costs) • TC = TFC + TVC • TC = TFC + TVC Q Q Q • AC = AFC + AVC AC = TC/Q AFC = TFC/Q AVC = TVC/Q
ต้นทุนเพิ่ม (Marginal Costs)และ ต้นทุนเฉลี่ย (Average Costs) แรงงาน ผลผลิต(TFC) (TVC) (TC) (MC) (AFC) (AVC) (AC) (วันวาน) (หน่วย/วัน) (บาท) — 6.25 2.50 1.92 1.67 1.56 — 6.25 5.00 5.77 6.77 7.81 — 12.50 7.50 7.69 8.33 9.38 a 0 0 25 0 25 b 1 4 25 25 50 c 2 10 25 50 75 d 3 13 25 75 100 e 4 15 25 100 125 f 5 16 25 125 150 6.25 4.17 8.33 12.50 25.00
MC ATC AVC AFC ต้นทุนเพิ่ม กับ ต้นทุนเฉลี่ย ต้นทุน • TVC = ผลรวมของ MC • เมื่อ MC < AC, AC ลดลง ขณะที่ Q เพิ่ม • เมื่อ MC > AC, AC เพิ่มขึ้น ขณะที่ Q เพิ่ม • จุดต่ำสุด AC เมื่อ MC = AC ATC = AFC + AVC 15 10 5 ปริมาณผลผลิต 0 5 10 15
TC, TVC, TFC 400 TC 350 300 250 TVC 200 150 TFC 100 50 Q, TP 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160
ที่ MC= AVC ต่ำสุด TVC 250 TVC MC= TC/ TP 200 150 TFC 100 AVC= TVC/ TP 50 Q, TP 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160 A L=10.8
ที่ MC= AVC ต่ำสุด TC TVC n 250 A TVC MC= TC/ TP m 200 150 100 AC= TVC/ TP 50 Q, TP 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160 A L=10.8
AC, AVC, AFC, MC MC 12 10 8 AC 6 AVC AFC 4 A B 2 TP,Q 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160 L=10.8
ต้นทุนเพิ่ม กับ ต้นทุนเฉลี่ย • เมื่อ MC < AC, AC ลดลง ขณะที่ Q เพิ่ม • เมื่อ MC > AC, AC เพิ่มขึ้น ขณะที่ Q เพิ่ม • จุดต่ำสุด AC เมื่อ MC = AC จุดต่ำสุดของ AC AC ต้นทุน MC AVC Q
TP (Q ) 160 TP (Q) 140 120 100 80 60 40 20 0 L 0 5 10 15 20 25 30 A L=10.8
Q 14 12 10 8 6 AP 4 2 MP L 0 0 5 10 15 20 25 30 A L=10.8
ต้นทุนเฉลี่ยต่ำสุด VS ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด TC, TVC, TFC TP (Q ) 400 160 TC TP (Q) 140 350 120 300 100 250 80 TVC 60 200 40 150 20 TFC 0 100 L 50 0 5 10 15 20 25 30 A Q, TP 0 L=10.8 0 20 40 60 80 100 120 140 160 A B L=10.8
ต้นทุนผันแปรเฉลี่ยต่ำสุด VS ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด Q 14 12 12 10 10 8 8 6 AP 4 6 2 4 MP L 0 2 0 5 10 15 20 25 30 0 A L=10.8 0 20 40 60 80 100 120 140 160 AC, AVC, AFC, MC MC AVC TP,Q A B L=10.8
ผลผลิตเพิ่ม MP และต้นทุนเพิ่ม MC • ขณะที่ MP เพิ่มขึ้นใช้ปัจจัยผันแปรน้อยลงในการผลิต Q เพิ่มขึ้น 1หน่วยดังนั้น MC ลดลง • ขณะที่ MP ลดลงใช้ปัจจัยผันแปรมากขึ้นในการผลิต Q เพิ่มขึ้น 1 หน่วยดังนั้น MC เพิ่มขึ้น
AP MP ผลผลิต vs ต้นทุน ผลผลิต ผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตเพิ่ม 6 4 MPลด MC เพิ่ม AP ลด AVCเพิ่ม MPลด MC เพิ่ม AP เพิ่ม AVC ลด 2 2 MP เพิ่ม MC ลด AP เพิ่ม AVC ลด 01.52.0 ปัจจัยการผลิต
ต้นทุนเฉลี่ย ต้นทุนเพิ่ม 12 MC 9 AVC 6 MP สูงสุดขณะที่ MC ต่ำสุด AP สูงสุด ขณะที่ AVC สูงสุด 3 0 6.5 10 ผลผลิต ผลผลิต vs ต้นทุน (ต่อ) ค่าใช้จ่าย (บาท)
MP สูงสุดขณะที่ MC ต่ำสุด AP สูงสุด ขณะที่ AVC สูงสุด ผลผลิต vs ต้นทุน (ต่อ) 12 9 AP MC 6 MP AVC 3 0 6.5 10 ผลผลิต
รายรับส่วนเพิ่ม(Marginal Revenue: MR) รายรับที่เพิ่มขึ้น เมื่อทำการผลิตผลผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย การเพิ่มขึ้นของTR เมื่อ Qเพิ่มขึ้น 1 หน่วย • ถ้า P คงที่ทุกระดับการผลิต MR = P • ถ้า P ลดลง, MR < P (อยู่ในตลาดผูกขาด)
กำไรสูงสุด (Maximum Profit) • กำไร (Profit) = รายรับ (TR) - ต้นทุน (TC) • กำไรจะเพิ่มขึ้นถ้าP > MC (MR = P) • หยุดการผลิตเมื่อ P = MC • ไม่ผลิตถ้าP < MC • ณ ระดับราคา (P) ที่กำหนดให้ ธุรกิจจะเพิ่ม การผลิต Q จนกระทั่ง P = MC ***เส้น MC (ที่อยู่เหนือ AVC ต่ำสุด) คือเส้นอุปทานในระยะสั้น***
TC, TVC, TFC 400 TC TR 350 300 250 TVC 200 150 TFC 100 50 Q, TP 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160 A L=10.8
AC, AVC, AFC, MC MC 12 10 8 AC 6 AVC AFC 4 A B 2 TP,Q 0 0 20 40 60 80 100 120 140 160 L=10.8 Normal profit P=MR Shut down point ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
3.2.3 การผลิตและต้นทุนการผลิตในระยะยาว ระยะยาว (long run period):ระยะเวลาที่นานพอจนกระทั่งผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลง จำนวนหรือขนาดของปัจจัยการผลิตทุกชนิดที่ใช้อยู่ได้ Q = f (x1, x2 ,x3 ,…xn ) โดยที่x1 , x2 ,x3 ,…xn= ปัจจัยการผลิตผันแปร
การผลิตในระยะยาว • สามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิด • นำฟังก์ชันการผลิตมาใช้อธิบาย • เกิดอะไรขึ้น เมื่อธุรกิจเพิ่มขนาดการใช้ปัจจัยการผลิตทุกชนิด? • เกิดอะไรขึ้นเมื่อมีธุรกิจใหม่เข้ามา ?