360 likes | 598 Views
CUP ดอนตาล ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการเฝ้าระวัง และติดตามสถานการณ์ การเงินการคลัง ระดับจังหวัด 6 มิถุนายน 2556. Present by : DonTan CFO Team. เอกสารหมายเลข 1. Vision. “ เป็นโรงพยาบาลที่ให้การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม บุคลากรมีศักยภาพและมีความสุข ”. Mission. “ ให้บริการด้านสุขภาพแบบองค์รวม
E N D
CUP ดอนตาล ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการเฝ้าระวัง และติดตามสถานการณ์ การเงินการคลัง ระดับจังหวัด 6 มิถุนายน 2556 Present by : DonTan CFO Team เอกสารหมายเลข 1
Vision “เป็นโรงพยาบาลที่ให้การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม บุคลากรมีศักยภาพและมีความสุข” Mission “ให้บริการด้านสุขภาพแบบองค์รวม ครอบคลุมบริการรักษาพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน/ ควบคุมโรค และฟื้นฟูสภาพ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการจัดการสุขภาพ พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพและ มีความสุขในการทำงาน”
DonTan Tourism Introduce Ma-ho-ra-truk drums Bronze drum Ancient in DonTan Centre Temple
Topic - ข้อมูลทั่วไป - กระบวนการดำเนินงานด้านการเงินและบัญชี • การควบคุม กำกับ ติดตาม งบประมาณ • อัตราส่วนการเงินที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ • การบริหารคลังยาและเวชภัณฑ์
ข้อมูลทั่วไป ด้านข้อมูลทั่วไป ข้อมูลพื้นฐาน - 7 ตำบล - 8,236 หลังคาเรือน - 63 หมู่บ้าน - 3 เทศบาล - 5 อบต. Population Population = 44,155 - Male 22,778 - Female 21,377 Source: National Health Security Office , Feb 01,2013
ข้อมูลทั่วไป ด้านหลักประกันสุขภาพ ร้อยละความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ Covered 100% whole DonTan people of health funds Value : Percentage 12.09 5.7 0.19 0.10 (44 Cases) SSS Other OFC Null UC Contraction Health Funds: UC-Universal coverage healthcare, OFC-Medical benefits for civil servants and state enterprise employees, SSS-Social security and workers compensation fund Sources: National Health Security Office, Thailand in May 01,2013
ข้อมูลทั่วไป ด้านหลักประกันสุขภาพ กราฟแท่งแสดงร้อยละความครอบคลุมหลักประกันฯ เฉพาะสิทธิ UC ปีงบ 55 ปีงบ 56
กระบวนการดำเนินงาน ด้านการเงินและบัญชี Actors CFO DonTan Committee -Doctor -Dentist -Pharmacist -Nurse -Other. Budget plan CFO committee Monitor, Control,Analyze budget Accountant Account Recording include Unit Cost Pharmacist Analyze Unit Cost Nurses Drug stock Non-Drug stock Lab ,X-Ray stock Monitor& Control Stocks Scientist
กระบวนการดำเนินงาน ด้านการเงินและบัญชี ความถี่ (Timing) ของการวิเคราะห์ ->ประจำทุกเดือน CFO committee นักบัญชี, งานประกัน กระบวนการดำเนินงานรับรู้ข้อมูลเพื่อบันทึกทางบัญชี
กระบวนการดำเนินงาน ด้านการเงินและบัญชี UC,OFC,SSS,Other ใน Cup,นอก Cup,นอกจังหวัด, ผู้ป่วยนอก, ผู้ป่วยใน 259 บันทึกราย Record ใน Excel แยกเป็นไฟล์ มูลค่าลูกหนี้สิทธิ บันทึกในใบสั่งยา เจ้าหน้าที่การเงินรับรู้ลูกหนี้ บัญชีเกณฑ์คงค้าง 3,732 เส้นทางการรับรู้ลูกหนี้สิทธิในอดีต
กระบวนการดำเนินงาน ด้านการเงินและบัญชี สิทธิ UC,OFC,SSS,Other ประเภทผู้ป่วย : ใน Cup,นอก Cup, นอกจังหวัด, ผู้ป่วยนอก, ผู้ป่วยใน • เจ้าหน้าที่การเงินสามารถรับรู้ลูกหนี้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และลดภาระงาน • ออกรายงานงบทดลอง เอกสารหมายเลข 2 • รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การเงิน “ผลการใช้โปรแกรมและสุ่มข้อมูลเทียบกับใบสั่งยาพบว่ามีความถูกต้อง ร้อยละ 98” เส้นทางการรับรู้ลูกหนี้สิทธิในปัจจุบัน
การควบคุม กำกับ ติดตาม แผนเงินบำรุง ด้านรายรับ รายรับที่ได้ Value : % กราฟแท่งแสดงร้อยละรายรับเทียบกับแผนเงินบำรุง หมายเหตุ : ข้อมูลเดือน ตค.55-มีค.56
การควบคุม กำกับ ติดตาม ด้านรายรับ UC=17,792,280 : 80.48% จ่ายตรง = 2,577,579 : 11.66% Value : ล้านบาท กราฟแท่งแสดงจำนวนเงินและสัดส่วนร้อยละรายรับ
การควบคุม กำกับ ติดตาม แผนเงินบำรุง ด้านรายจ่าย รายจ่ายที่จ่าย Value : % กราฟแท่งแสดงร้อยละรายจ่ายเทียบกับแผนเงินบำรุง
การควบคุม กำกับ ติดตาม 1.ค่าตอบแทน 5,750,200 (30.89) 2.ค่ายา 4,234,401 (22.75) 3.ค่าจ้างชั่วคราว 2,246,567 (12.07) Value : ล้านบาท กราฟแท่งแสดงสัดส่วนร้อยละรายจ่าย
การดำเนินงาน ด้านการเงิน สรุปสถานะการเงิน ณ 31 มีนาคม 2556 เงินบำรุงคงเหลือ 10,032,964 Value : ล้านบาท 6,855,604 37,592,940 18,613,804 48.64% 36,638,963 61.11% 22,105,184
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวัง ด้านสภาพคล่องทางการเงิน (liquidity Ratio) 1.อัตราส่วนเงินสด ต่อหนี้สินหมุนเวียน (Cash Ratio) 2.อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) 3.อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) 4.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษา Non UC 5.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า
วิกฤตทางการเงิน ตารางแสดงวิกฤตทางการเงิน 7 ระดับ ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2556 ไตรมาส 2 ไตรมาส 1
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวัง ด้านสภาพคล่องทางการเงิน Conclusion: จากกราฟ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีงบ 55 กับ 56 ในช่วงเวลาเดียวกัน จะเห็นได้ว่า Cash ratio ของปีงบ 56 น้อยกว่า ปี 55 ถึงแม้ค่าที่คำนวณได้จะต่ำกว่าเกณฑ์ แต่ก็ยังถือว่า รพ.มีสินทรัพย์หมุนเวียนสูงอยู่ ทำให้มีความคล่องตัวในการชำระหนี้ระยะสั้นได้
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวัง ด้านสภาพคล่องทางการเงิน Conclusion: จากกราฟ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีงบ 55 กับ 56 ในช่วงเวลาเดียวกัน จะเห็นได้ว่า Quick ratio ของปีงบ 56 น้อยกว่า ปี 55 แต่ รพ. ก็ยังมีความสามารถ การชำระหนี้ในระยะสั้นด้วยสินทรัพย์หมุนเวียนที่แปรสภาพเป็นเงินสดได้เร็ว
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวัง ด้านสภาพคล่องทางการเงิน Conclusion: จากกราฟ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีงบ 55 กับ 56 ในช่วงเวลาเดียวกัน จะเห็นได้ว่า Current ratio ของปีงบ 56 น้อยกว่า ปี 55 ถึงแม้ค่าที่คำนวณได้จะต่ำกว่าเกณฑ์ แต่ก็ยังถือว่า รพ.มีสินทรัพย์หมุนเวียนสูงอยู่ ทำให้มีความคล่องตัวในการชำระหนี้ระยะสั้นได้
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวัง ด้านสภาพคล่องทางการเงิน Conclusion: จากกราฟ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีงบ 55 กับ 56 ในช่วงเวลาเดียวกัน จะเห็นได้ว่าอัตราส่วนของปีงบ 56 สูงกว่า ปี 55 แต่ก็ยังถือว่า รพ.เรียกเก็บหนี้ได้เร็ว ไม่เกิน 90 วัน เนื่องจากจัดทำเอกสารส่งเบิกได้เร็วขึ้น
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษอัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษ Conclusion: จากกราฟ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีงบ 55 กับ 56 ในช่วงเวลาเดียวกัน จะเห็นได้ว่าอัตราส่วนของปีงบ 56 สูงกว่า ปี 55 เนื่องจากยังไม่มีตัวแทนผู้ค้าเข้ามาวางบิล
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวัง ด้านประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและการบริหารจัดการ (Efficiency Ratio) 1.ทุนสำรองสุทธิ Net working Capital(NWC) 2.ทุนสำรองสุทธิพอเพียงต่อค่าใช้จ่าย (เดือน) 3.อัตรากำไรสุทธิ 4.ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อค่า RW
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษอัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษ Conclusion: จากกราฟ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีงบ 53 กับ 56 พบว่ามีแนวโน้มจะได้รับงบประมาณรายหัวเพิ่มขึ้นทุกปี
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษอัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษ Conclusion: จากกราฟ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 55 กับปี 56 จะพบว่า ปี 56 ทุนสำรองของ รพ.ลดลง เนื่องจาก รพ.มีรายจ่ายเพิ่มขึ้น ได้แก่ ค่าตอบแทน ค่ายา เวชภัณฑ์ ซึ่ง รพ.สามารถอยู่ได้อีก 1.2 เดือน ถ้ายังไม่ได้รับเงินจัดสรร
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษอัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษ
อัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษอัตราส่วนการเงินที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษ ค่ามาตรฐาน รพช.=22,056 บาท
การบริหารคลังยาและเวชภัณฑ์การบริหารคลังยาและเวชภัณฑ์ • ผู้ใช้ คือ ผู้ซื้อจึงมีหน่วยจัดซื้อตามฝ่ายต่างๆ คือ เภสัช , ฝ่ายการฯ ,lab ,รังสี และทันตะ • จัดทำแผนการจัดซื้อทุกปี ทุกหน่วย • มีการตรวจสอบคงคลังทุกเดือน สุ่มตรวจคงคลังไขว้หน่วยจัดซื้อ และมีการตรวจนับคลังประจำปี • อัตราการสำรองคลังไม่เกิน 3 เดือน • จัดทำรายงานรายเดือน รายไตรมาส และสิ้นปีงบประมาณ • มีโปรแกรมบริหารคลังเวชภัณฑ์ ในการบริหารคงคลัง
การบริหารคลังยาและเวชภัณฑ์การบริหารคลังยาและเวชภัณฑ์ มูลค่า (บาท) 5,423,761.63 แผนการจัดซื้อสิ้นไตรมาส 2 * ส่วนใหญ่มีการจัดซื้อยังไม่เกินเกิน 50% ของแผน ยกเว้นยาที่จัดซื้อไปแล้ว 55.40% หมายเหตุ: เวชภัณฑ์มิใช่ยา,วัสดุการแพทย์ คิดเฉพาะฝ่ายการพยาบาลและงานรังสี
KPI ลดต้นทุนค่ายา/lab ผู้ป่วยนอก ร้อยละ 10 กิจกรรมการลดต้นทุน ยา • ลดรายการยา NED จาก 15 รายการ เหลือ 11 รายการ • ส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ASU) • ถุงผ้าใส่ยา ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง,TB • กิจกรรมนำยาเก่ามาแลกยาใหม่......ใน DM, HT, asthma&COPD • Med reconsile ในผู้ป่วย admit • จัดซื้อรายการยาที่เป็นยาร่วมเขต/จังหวัด Lab • ต่อรองราคา lab บางรายการ ภายในจังหวัด (บริษัทเดียวกัน) โดยอ้างอิงราคาจากเขต 10
มูลค่า (บาท) KPI ต้นทุนค่ายา ลดลงร้อยละ 10 +15.97% +36.76% มูลค่าจัดซื้อยาไม่ลดลงตามเป้าหมาย เนื่องจาก รพ. มีจำนวนคนไข้โรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น, เพิ่มคลินิก asthma&COPD, CKD
มูลค่า (บาท) KPI ต้นทุนค่า Labลดลงร้อยละ 10 + 28.39% - 15.22%
KPI มูลค่าการจัดซื้อยาจาก GPO ร้อยละ 35 • การจัดซื้อยาจาก GPO เปรียบเทียบไตรมาส 1-2 ของปี 56 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก ปี 55 • ปัจจุบันมูลค่าจัดซื้อยา GPO (ไตรมาส 2) =15.92%