1 / 33

การจัดตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำ

การจัดตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำ. สำนักส่งเสริมและประสานมวลชน กรมทรัพยากรน้ำ. สสป. ความเป็นมา. กนช. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำ ตามระเบียบ สำนักนายกฯ พ.ศ. 2532 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 จำนวน 29 คณะ ครอบคลุม 25 ลุ่มน้ำหลัก

elia
Download Presentation

การจัดตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำการจัดตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำ สำนักส่งเสริมและประสานมวลชน กรมทรัพยากรน้ำ สสป.

  2. ความเป็นมา • กนช. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำ ตามระเบียบ สำนักนายกฯ พ.ศ. 2532 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 จำนวน 29 คณะ ครอบคลุม 25 ลุ่มน้ำหลัก ทั่วประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2546 • ระเบียบสำนักนายกฯ พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้ และแต่งตั้ง กนช. เมื่อวันที่ 4 ต.ค. 2550 (คำสั่ง นร.ที่ 244 / 2550 ) มี ผลให้คณะอนุกรรมการลุ่มน้ำตามระเบียบฯ เดิม สิ้นสุดลง สสป.

  3. มติคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.)ครั้งที่ 2/2551 วันที่ 12 มิถุนายน 2551 • กนช. เห็นชอบให้กำหนดการแบ่งจำนวนลุ่มน้ำ เป็น 25 ลุ่มน้ำ และจำนวนคณะกรรมการลุ่มน้ำที่จะดำเนินการแต่งตั้งเป็น 25 คณะ 2) เห็นชอบร่างประกาศ กนช. เรื่อง คุณสมบัติ การสรรหา การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการลุ่มน้ำ 3) มอบหมายให้กรมทรัพยากรน้ำดำเนินการตามขั้นตอนของ แผนปฏิบัติการต่อไป สสป.

  4. ประกาศ กนช. เรื่อง คุณสมบัติ การสรรหา การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการลุ่มน้ำ สสป.

  5. ประกาศคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เรื่อง คุณสมบัติ การสรรหา การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการ ลุ่มน้ำ มีสาระสำคัญ 5ข้อ 1. คุณสมบัติของกรรมการลุ่มน้ำ 2. วิธีการสรรหา 3. การแต่งตั้ง 4. วาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่ง 5. การออกบัตรประจำตัวกรรมการลุ่มน้ำ สสป.

  6. 1. คุณสมบัติของกรรมการลุ่มน้ำ  คุณสมบัติทั่วไป • ตามระเบียบ นร.ฯ พ.ศ. 2550 • มีสัญชาติไทย และมีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ • ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย • ไม่เคยได้รับโทษโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ สสป.

  7. คุณสมบัติเฉพาะของผู้แทน อปท. • อยู่ในตำแหน่งนายก อบจ. หรือ รองนายก อบจ. • อยู่ในตำแหน่งนายกเทศมนตรีเทศบาลฯ นายกเมืองพัทยา ผู้ว่า กทม. • อยู่ในตำแหน่งนายก อบต. สสป.

  8. คุณสมบัติเฉพาะผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำ  ผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำภาคเกษตรกรรม • ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ด้านการ เพาะปลูก หรือการเลี้ยงสัตว์ หรือการประมง • กรณีที่เป็นบุคคลธรรมดา ต้องได้รับการรับรองการประกอบอาชีพประกอบอาชีพจากกลุ่มเกษตรกร หรือ อปท. ในพื้นที่ซึ่งบุคคลนั้นประกอบอาชีพอยู่ • กรณีที่เป็นผู้แทนกลุ่มบุคคล องค์กรเอกชนหรือนิติบุคคล ต้องได้รับการรับรองจากองค์กรฯ นั้น สสป.

  9. คุณสมบัติเฉพาะผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำ (ต่อ)  ผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำภาคอุตสาหกรรม • กรณีที่เป็นบุคคลธรรมดา ต้องเป็นเจ้าของกิจการหรือผู้มี อำนาจกระทำการแทนบริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัด ซึ่งประกอบกิจการด้านอุตสาหกรรม • กรณีที่เป็นผู้แทนกลุ่มบุคคล องค์กรเอกชน หรือ นิติบุคคล ต้องได้รับการรับรองการเป็นผู้แทนกลุ่ม บุคคล องค์กรเอกชนหรือนิติบุคคล นั้น

  10. คุณสมบัติเฉพาะผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำ (ต่อ)  ผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำภาคการพาณิชย์ การบริการ และการท่องเที่ยว • กรณีที่เป็นบุคคล ต้องเป็นเจ้าของกิจการหรือผู้มีอำนาจกระทำการแทนบริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัด ฯลฯ • กรณีที่เป็นผู้แทนกลุ่มบุคคล องค์กรเอกชน หรือ นิติบุคคล ต้องได้รับการรับรองการเป็นผู้แทนกลุ่ม บุคคลนั้น สสป.

  11. คุณสมบัติเฉพาะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิคุณสมบัติเฉพาะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ • เป็นผู้แทนสถาบันการศึกษาที่ได้รับการมอบหมาย หรือ • เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ และ เป็นที่ยอมรับในพื้นที่ลุ่มน้ำหรือ • เป็นผู้แทนองค์กรเอกชน หรือองค์กรพัฒนาเอกชน โดยได้รับการรับรองจากองค์กรนั้น

  12. 2. การสรรหา  กนช. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสรรหาผู้แทนระดับจังหวัด ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ผอ.สทภ. และ ทสจ. ที่รับผิดชอบพื้นที่จังหวัด เป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ  คณะอนุกรรมการสรรหาระดับจังหวัดประสานรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้พิจารณาสรรหาผู้แทน โดยการประชุม หรือ วิธีอื่นที่เหมาะสม - ผู้แทน อปท. จังหวัดละ 3 คน - ผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำ ( เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชกรรม ด้านละ 2 - 4 คน รวมไม่เกิน จังหวัดละ 9 คน) - ผู้ทรงคุณวุฒิ ( สถาบันการศึกษา ผู้มีความรู้ฯ องค์กรเอกชน กลุ่มละ 2 – 4 คน รวมไม่เกิน จังหวัดละ 9 คน)  กรณีที่จังหวัดมีพื้นที่คาบเกี่ยวในหลายลุ่มน้ำคณะอนุฯ อาจพิจารณาสรรหาผู้แทนเข้ารับการคัดเลือกในระดับลุ่มน้ำได้มากกว่า 1 ลุ่มน้ำ สสป.

  13. - ทน. รวบรวมรายชื่อผู้แทนที่ได้รับการคัดสรรจากระดับ จังหวัด- จัดประชุมผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากจังหวัด เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจ และรับทราบรายละเอียด ในการคัดสรรผู้แทนระดับลุ่มน้ำ โดยแต่ละกลุ่ม (ผู้แทน อปท. / ผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำ / ผู้ทรงคุณวุฒิ) คัดเลือกกันเอง เพื่อเสนอ ชื่อผู้แทน ( กลุ่มละ 6 คน ) ให้ กนช.พิจารณาแต่งตั้ง การคัดเลือกผู้แทนระดับลุ่มน้ำ สสป.

  14. 3. การแต่งตั้ง • ผู้แทนส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการต้นสังกัด แต่งตั้งและมอบหมายบุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ลุ่มน้ำ เป็นผู้แทน • ทน. เสนอชื่อผู้แทน อปท. องค์กรผู้ใช้น้ำ และผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับลุ่มน้ำไม่เกินกลุ่มละ 6 คน ให้ กนช. พิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการลุ่มน้ำ

  15. 4. วาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่ง  ผู้แทน อปท. องค์กรผู้ใช้น้ำ และผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระการดำรงตำแหน่ง คราวละ 4 ปี  พ้นตามระเบียบ นร.ฯ พ.ศ.2550 ข้อ 8 โดยอนุโลม และกำหนดเพิ่มเติม ดังนี้ - ผู้แทนส่วนราชการพ้นจากตำแหน่งเมื่อมีคำสั่งให้พ้น จากหน้าที่ในพื้นที่ ลุ่มน้ำนั้น - ผู้แทน อปท. พ้นจากตำแหน่งเมื่อพ้นจากการดำรงตำแหน่งผู้บริหาร ใน อปท. - ผู้แทน อปท. องค์กรผู้ใช้น้ำ และผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตำแหน่งเมื่อ ประธาน กนช. ให้ออก โดยมติคณะกรรมการลุ่มน้ำไม่น้อยกว่า สอง ในสามขององค์ประชุม เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติ เสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ สสป.

  16. 5. การออกบัตรประจำตัวกรรมการลุ่มน้ำ  อทน. มีอำนาจออกบัตร  บัตรมีอายุ 4 ปี ตามวาระการดำรงตำแหน่ง  บัตรหมดอายุเมื่อพ้นจากตำแหน่ง สสป.

  17. คำสั่ง กนช. ที่ …./2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสรรหาผู้แทนระดับจังหวัด สสป.

  18. องค์ประกอบ • ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานอนุกรรมการ • นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด อนุกรรมการ • ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด อนุกรรมการ • ประธานหอการค้าจังหวัด อนุกรรมการ • เกษตรและสหกรณ์จังหวัด อนุกรรมการ • ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด อนุกรรมการ • พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด อนุกรรมการ • ผู้ทรงคุณวุฒิที่ ผวจ.เห็นสมควร จำนวน 2 คน อนุกรรมการ • ผอ.สทภ.รับผิดชอบพื้นที่จังหวัด อนุกรรมการและเลขานุการ • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ สสป.

  19. อำนาจหน้าที่ • คณะอนุกรรมการฯ สรรหาผู้แทนระดับจังหวัด มีหน้าที่สรรหาผู้แทนจากองค์กรส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคพาณิชย์ การบริการและการท่องเที่ยว และผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันการศึกษา ผู้มีความรู้และประสบการณ์ องค์กรเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน ตามประกาศคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เรื่อง คุณสมบัติ การสรรหา การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการลุ่มน้ำ โดยมีจำนวนไม่เกินที่กำหนด • ให้คณะอนุกรรมการฯ สรรหาผู้แทนระดับจังหวัด แจ้งรายชื่อผู้แทนที่ได้รับการสรรหาพร้อมใบแสดงความประสงค์เพื่อเข้ารับการพิจารณาคัดสรรเป็นคณะกรรมการลุ่มน้ำ และเอกสารรับรองประวัติการทำงานหรือประสบการณ์ต่างๆ ไปยังผู้อำนวยการสำนักทรัพยากรน้ำภาคที่รับผิดชอบแต่ละจังหวัด เพื่อดำเนินการจัดประชุมคัดเลือกกันเองในแต่ละลุ่มน้ำ และเสนอชื่อผืที่ได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนระดับลุ่มน้ำให้คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการลุ่มน้ำต่อไป สสป.

  20. ผังขั้นตอนดำเนินงานตามประกาศ กนช. ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ทน.จัดประชุมผู้ได้รับการเสนอ ชื่อของแต่ละจังหวัดที่เป็นจังหวัด หลักในลุ่มน้ำ เพื่อคัดเลือกกันเอง ในแต่ละกลุ่ม เป็นผู้แทนระดับ ลุ่มน้ำ กลุ่มละไม่เกิน 6 คน เสนอรายชื่อต่อ กนช.พิจารณา แต่งตั้ง • คณะกรรมการฯ ประสานรวบรวม • ข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • โดยการประชุม หรือโดยวิธีอื่นที่ • เหมาะสม เพื่อพิจารณาผู้แทน • ระดับจังหวัด ตามจำนวน ดังนี้ • อปท. ( รวม 3คน ) • อบจ. เทศบาล อบต. • กลุ่มละ 1คน • องค์กรผู้ใช้น้ำ ( รวมไม่เกิน 9คน ) • - ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม • ภาคการพาณิชย์ฯ กลุ่มละ 2 - 4คน • ผู้ทรงคุณวุฒิ ( รวมไม่เกิน 9คน ) • - สถาบันการศึกษา ผู้มีประสบการณ์ • องค์กรเอกชน กลุ่มละ 2 - 4คน • กนช. แต่งตั้งคณะกรรมการ • สรรหาผู้แทนระดับจังหวัด • ผวจ. เป็นประธาน • นายก อบจ. • ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด • ประธานหอการค้าจังหวัด • เกษตรและสหกรณ์จังหวัด • ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด • พัฒนาสังคมและความมั่นคง • ของมนุษย์จังหวัด • ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ ผวจ.เห็นสมควร • จำนวน 2คน • ผอ.สทภ. เป็นเลขานุการ • ทสจ. เป็นผู้ช่วยเลขานุการ กนช. พิจารณาแต่งตั้ง คณะกรรมการลุ่มน้ำ

  21. คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) 26 คน (นายเฉลิม อยู่บำรุง) รองนายกรัฐมนตรี ประธานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ กรมทรัพยากรน้ำ (ทำหน้าที่เลขานุการ) 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 3. ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด 4. ประธานหอการค้าจังหวัด 5. เกษตรและสหกรณ์จังหวัด 6. ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด 7. พัฒนาสังคมและความมั่นคงจังหวัด 8. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในจังหวัด (2 คน) 9. ผอ.สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 10. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด คณะอนุกรรมการสรรหาผู้แทนระดับจังหวัด 11 คน ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ทำหน้าที่พิจารณาสรรหาผู้มีคุณสมบัติ ผอ.สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค เป็นเลขานุการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด(ทสจ.)เป็นผู้ช่วยเลขานุการ สสป.

  22. คณะอนุกรรมการสรรหาผู้แทนระดับจังหวัด 11 คนผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานทำหน้าที่พิจารณาสรรหาผู้มีคุณสมบัติ กลุ่มองค์กรปกครองท้องถิ่น กลุ่มองค์กรผู้ใช้น้ำ ไม่เกิน 9 คน กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่เกิน 9 คน ผู้แทน อบจ. 1 คน ผู้แทนภาคเกษตรกรรม 2 – 4 คน ผู้แทนภาคสถาบันการศึกษา 2 – 4 คน ผู้แทนภาคประชาชน 2 – 4 คน ผู้แทนภาคอุตสาหกรรม 2 – 4 คน ผู้แทนเทศบาล 1 คน ผู้แทน อบต. 1 คน ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชน 2 – 4 คน ผู้แทนภาคการท่องเที่ยว/บริการ 2 – 4 คน ผู้แทนภาคต่าง ๆ รวมทั้งสิ้นไม่เกินจังหวัดละ 21 คน สสป.

  23. กรมทรัพยากรน้ำจัดประชุมผู้แทนแต่ละจังหวัด เพื่อคัดเลือกผู้แทนคณะกรรมการลุ่มน้ำ โดยให้แต่ละกลุ่มคัดเลือกกันเอง กลุ่มองค์กรปกครองท้องถิ่นไม่เกิน 6 คน กลุ่มองค์กรผู้ใช้น้ำ ไม่เกิน 6 คน กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่เกิน 6 คน ผู้แทน อบจ. ผู้แทนภาคเกษตรกรรม ผู้แทนภาคสถาบันการศึกษา ผู้แทนเทศบาล ผู้แทนภาคอุตสาหกรรม ผู้แทนภาคประชาชน ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชน ผู้แทน อบต. ผู้แทนภาคการท่องเที่ยว/บริการ คณะกรรมการลุ่มน้ำที่ไม่ใช่ส่วนราชการ จำนวนไม่เกิน 18 คน สสป.

  24. ผู้แทนคณะกรรมการลุ่มน้ำ (ไม่ใช่ส่วนราชการ)จำนวนไม่เกิน 18 คน กรมทรัพยากรน้ำ เสนอรายชื่อผู้แทนคณะกรรมการลุ่มน้ำ (ไม่ใช่ส่วนราชการ) ต่อคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) เพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการลุ่มน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ มีหนังสือถึงหัวหน้าส่วนราชการที่มีรายชื่อในแต่ละคำสั่ง พิจารณาแต่งตั้งและมอบหมายบุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ หรือ มีความรับผิดชอบในพื้นที่ลุ่มน้ำเป็นผู้แทน คณะกรรมการลุ่มน้ำ จำนวนไม่เกิน 35 คน กรมทรัพยากรน้ำ จัดประชุมคณะกรรมการลุ่มน้ำกำหนดวาระประชุมเพื่อคัดเลือกประธานกรรมการลุ่มน้ำ 1 คน รองประธานกรรมการลุ่มน้ำ 2 คน ด้วยวิธีการให้กรรมการลุ่มน้ำที่เข้าประชุมพิจารณาคัดเลือกกันเอง และมีมติรับรอง สสป.

  25. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารทรัพยากรน้ำแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ข้อ 2 กนช.แต่งตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ลุ่มน้ำ จำนวนไม่เกิน 35 คน ผอ.สทภ.เป็นกรรมการและเลขานุการ ให้ ผอ.สทภ. แต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้ตามความจำเป็น แต่งตั้งกรรมการตามวรรค 1 ให้แต่งตั้งจากบุคคลซึ่งปฏิบัติ หน้าที่หรืออาศัยในลุ่มน้ำนั้น โดยคำนึงถึงจำนวนกรรมการ ซึ่งเป็นผู้แทนจากภาครัฐและเอกชนในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน สสป.

  26. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการลุ่มน้ำอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการลุ่มน้ำ • เสนอความเห็นต่อ กนช. เกี่ยวกับการเสนอนโยบาย แผนงาน โครงการ แนวทางแก้ไขปัญหา และอุปสรรคในการบริหารทรัพยากรน้ำ รวมทั้งการดำเนินงานใดๆ ของส่วนราชการ อปท. และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ลุ่มน้ำ 2. จัดทำแผนการบริหารทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำ 3. ประสานการจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณของ ส่วนราชการและท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ลุ่มน้ำ ให้เป็นไปตามแผนการบริหารทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำ และเป็นไป ตามกรอบงบประมาณ สสป.

  27. - 2 - • พิจารณาจัดลำดับความสำคัญ พร้อมทั้งกำหนดปริมาณการใช้น้ำ ในแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน และกำหนดมาตรการจัดสรรน้ำให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำที่มีอยู่ด้วยความเป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ 5. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำ 6. ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำแนะนำแก่ อปท. ในการบริหารทรัพยากรน้ำจากแหล่งน้ำขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์ และ เป็นธรรม สสป.

  28. - 3 - 7. ขอเอกสารข้อมูล และข้อเท็จจริงต่างๆ เกี่ยวกับทรัพยากรน้ำเพื่อ รวบรวมสถิติ ข้อมูล ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ บริหารทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำ 8. ประนีประนอม ไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้ง และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ การบริหารทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำ 9. ประสานการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรน้ำกับ คณะกรรมการลุ่มน้ำอื่นที่เกี่ยวข้อง สสป.

  29. - 4 - 10. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ รับฟังความคิดเห็น และสร้างความ เข้าใจกับประชาชนเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรน้ำ 11. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานเพื่อดำเนินการตามที่ คณะกรรมการลุ่มน้ำมอบหมาย 12. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ กนช.มอบหมาย สสป.

  30. แผนปฏิบัติการเพื่อการสรรหากรรมการลุ่มน้ำแผนปฏิบัติการเพื่อการสรรหากรรมการลุ่มน้ำ สรุปรายงานข้อคิดเห็นในการสรรหาตัวแทนกลุ่มต่างๆ เป็นกรรมการลุ่มน้ำภาคประชาชน ก.ย. - พ.ย. 2555 ก.ย. - พ.ย. 2555 ตรวจสอบและปรับปรุงประกาศ กนช.ที่เกี่ยวข้อง จัดทำคู่มือปฏิบัติ เพื่อแจกจ่ายให้เลขานุการฯ และคณะอนุกรรมการสรรหา ก.ย. - พ.ย. 2555 ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ สทภ. 1 - 10 ที่เกี่ยวข้อง และ ทสจ.ในพื้นที่ภาค กำหนดแนวทางดำเนินการสรรหา ก.ย. - พ.ย. 2555 สสป.

  31. แผนปฏิบัติการเพื่อการสรรหากรรมการลุ่มน้ำ (ต่อ) สทภ. 1 – 10 ประชุมคณะอนุกรรมการสรรหาผู้แทนระดับจังหวัด กำหนดขั้นตอนและผู้รับผิดชอบ ก.ย. - พ.ย. 2555 ประชาสัมพันธ์ผ่านทางสื่อต่างๆ ให้ผู้สนใจได้ทราบ และดำเนินการรับสมัครบุคคลเพื่อเป็นกรรมการ ลุ่มน้ำของแต่ละจังหวัดในพื้นที่ลุ่มน้ำ ก.ย. - พ.ย. 2555 รวบรวมรายชื่อผู้แทนภาคส่วนต่างๆ ที่ได้รับการพิจารณาจากคณะอนุกรรมการสรรหาระดับจังหวัดพร้อมเอกสาร ส่ง ทน. เพื่อเตรียมประชุมผู้แทนของแต่ละจังหวัด ก.ย. - พ.ย. 2555 ประชุมผู้มีรายชื่อเป็นผู้แทนในระดับจังหวัด เพื่อชี้แจงรายละเอียดตามระเบียบฯ แบ่งกลุ่มประชุมคัดเลือกกันเองเป็นกรรมการลุ่มน้ำ และแจ้งรายชื่อผู้ที่ได้รับการคัดสรรให้ ทน. เพื่อขอความเห็นชอบจาก กนช. ก.ย. - พ.ย. 2555

  32. การคัดเลือกคณะกรรมการลุ่มน้ำการคัดเลือกคณะกรรมการลุ่มน้ำ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารทรัพยากรน้ำแห่งชาติ พ.ศ. 2550 1. ทน. ยกร่างคำสั่ง กนช.แต่งตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำ ซึ่งมี องค์ประกอบตามร่างประกาศ กนช.ฯ เสนอประธาน กนช.ลงนาม 2. ทน. จัดประชุมเพื่อเลือกผู้แทนที่ได้รับการเสนอชื่อจากจังหวัด เพื่อคัดเลือกกันเองเป็นผู้แทนระดับลุ่มน้ำ 3. ทน. เสนอชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้แทนระดับลุ่มน้ำ ให้ กนช. พิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการระดับลุ่มน้ำ (9 คน) สสป.

  33. จบการนำเสนอ สสป.

More Related