270 likes | 646 Views
ทิศทางดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ. ภก. วัฒนา อัคร เอกฒาลิน ผู้อำนวยการสำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ขอบเขตความรับผิดชอบผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ. เครื่องสำอาง. ผลิตภัณฑ์อาหาร. สารระเหย. ผลิตภัณฑ์สุขภาพ. ยาเสพติดให้โทษ. เครื่องมือแพทย์.
E N D
ทิศทางดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพทิศทางดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ภก.วัฒนา อัครเอกฒาลิน ผู้อำนวยการสำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ขอบเขตความรับผิดชอบผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพขอบเขตความรับผิดชอบผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหาร สารระเหย ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ยาเสพติดให้โทษ เครื่องมือแพทย์ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน ผลิตภัณฑ์ยา
1. บทบาทหน้าที่ สำนักงาน อย. 1.1 ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยอาหารยา เครื่องสำอาง เครื่องมือ แพทย์ วัตถุอันตราย วัตถุออกฤทธิ์ฯ ยาเสพติดฯ สารระเหย และ คณะกรรมการ อาหารแห่งชาติ (รวม 9 ฉบับ) 1.2 เฝ้าระวัง กำกับและตรวจสอบคุณภาพมาตรฐาน 1.3 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และระบบงาน 1.4 พัฒนาผู้บริโภคให้มีศักยภาพในการเลือกบริโภค 1.5 พัฒนาและส่งเสริมงาน คบส.โดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
2. การดำเนินการที่สำคัญ 2.1 การคุ้มครองความปลอดภัยด้านยา การพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ ประกาศใช้ฉบับแรก พ.ศ. 2524 ปรับปรุง พ.ศ. 2547 : รายการยา 629 รายการ พ.ศ. 2551 : - ประกาศใช้ 27 ธันวาคม 2551 - รายการยา 891 รายการ - บัญชียาจากสมุนไพร 30 รายการ - เภสัชตำรับโรงพยาบาล 82 รายการ ผลที่ได้รับ • พัฒนาระบบกำกับประเมินและดูแลการใช้จ่ายยาอย่างเข้มงวด • ยามีประสิทธิภาพ ครอบคลุมโรคหรืออาการเจ็บป่วยมากขึ้น • ราคายาถูกลง • ทบทวนปรับปรุงรายการยาเป็นระบบ
2. การดำเนินการที่สำคัญ (ต่อ) 2.2 การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร • Mobile Unitปี2539-ปัจจุบัน 17 คัน : ส่วนกลาง 5 คัน • : ภูมิภาค 12 คัน • ลดสารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหารสด • ลดลงจาก ร้อยละ 32.65 ปี 2546 • เหลือ ร้อยละ 2.05 ปี 2551 • กำกับดูแลการนำเข้าอาหาร ณ ด่านอาหารและยาทั่วประเทศ จำนวน 35 แห่ง
2. การดำเนินการที่สำคัญ (ต่อ) 2.3 การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านเครื่องสำอาง เครื่องสำอางอันตราย เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผสมสารห้ามใช้ 3 ชนิด ได้แก่ ไฮโดรควิโนน ปรอท กรดเรทิโนอิก
2. การดำเนินการที่สำคัญ (ต่อ) 2.4 การตรวจสอบเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ การโฆษณาไม่ถูกต้องของทุกผลิตภัณฑ์ ลดลง (ปี 2549 – 2552) ร้อยละ 7.02 ปี 2549 เป็นร้อยละ 2.96 ปี 2551 และร้อยละ 3.07 ปี 2552 ( 6 เดือน) ผลิตภัณฑ์ที่พบไม่ถูกต้องมากที่สุดเรียงตามลำดับ (ปี 2552) ได้แก่ เครื่องมือแพทย์ (40.28%) วัตถุเสพติด (6.12%) อาหาร (3.88%) เครื่องสำอาง (2.36%) ยา(1.06%) วัตถุอันตราย (0%) แนวทางการตรวจสอบ ตรวจสอบชิ้นงานโฆษณา : ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล สถานที่ ประมวลหลักฐาน : ข้อมูลไม่ชัดเจน ไม่เพียงพอ - ตักเตือน : ไม่ฝ่าฝืน - ยุติเรื่อง : ฝ่าฝืน - ดำเนินการตามกฎหมาย เช่น แจ้งระงับ เปรียบเทียบปรับ
2. การดำเนินการที่สำคัญ (ต่อ) 2.5 การเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่สำคัญได้แก่ การดำเนินคดีกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน การดำเนินคดีตามพระราชบัญญัติ โดยการเปรียบเทียบปรับ (รวมทุกผลิตภัณฑ์) พ.ศ. 2549 2550 2551 2552(6 เดือน) * จำนวน (ราย) 927 743 1,078 365 หมายเหตุ * ปี2552 ข้อมูลเฉพาะ กทม.(6 เดือน) ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีการดำเนินคดีมากที่สุดเรียงตามลำดับ (ปี 2552) ได้แก่ ยา อาหาร เครื่องมือแพทย์ วัตถุออกฤทธิ์ เครื่องสำอาง
3. การพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคของ อย. ขยายขอบเขตความครอบคลุม การเข้าถึง 3.1 การมอบอำนาจการคุ้มครองผู้บริโภคให้แก่จังหวัด ถ่ายโอนภารกิจการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา เครื่องมือแพทย์ เครื่องสำอาง และวัตถุอันตราย) ระดับจังหวัด • แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติตาม พรบ. • มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้อนุญาต แทน เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ตามพระราชบัญญัติ ระดับอำเภอ • แต่งตั้งสาธารณสุขอำเภอทั่วประเทศ เภสัชกร โรงพยาบาลชุมชน และเภสัชกรโรงพยาบาลทั่วไปในพื้นที่นอกเขตอำเภอเมืองที่ไม่มีโรงพยาบาลชุมชนตั้งอยู่ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย 3 ฉบับ คือ • พระราชบัญญัติอาหาร พระราชบัญญัติยา • พระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย
3. การพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคของ อย. (ต่อ) 3.2 การถ่ายโอนบทบาท / ภารกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถ่ายโอนภารกิจการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา เครื่องมือแพทย์ เครื่องสำอาง และวัตถุอันตราย) กทม. พัทยา เทศบาล ภารกิจการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ภารกิจที่ถ่ายโอนแล้ว แต่งตั้งพนักงาน เจ้าหน้าที่ ตามพรบ. อาหาร พ.ศ. 2522 ภารกิจที่เตรียม การถ่ายโอน ปี52 เตรียมความพร้อมถ่ายโอนภารกิจการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ เครื่องสำอาง ณ สถานที่จำหน่าย
3. การพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคของ อย. (ต่อ) 3.3 การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาชน ก. การพัฒนาศักยภาพเครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ข. ประชาสัมพันธ์เชิงรุกโครงการ อย. น้อย(3.3)
ก. การพัฒนาศักยภาพเครือข่าย อสม. • จัดประกวด อสม. ดีเด่น ระดับเขต ระดับภาค และ ระดับประเทศ • จัดอบรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพเครือข่าย อสม.
ข. ประชาสัมพันธ์เชิงรุกโครงการ อย. น้อยโครงการ อย.น้อย • สมาชิก อย. น้อยทั่วประเทศ จำนวน 1,000,000 คน • โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10,000 โรงเรียน - จัดทำหลักสูตร อย. น้อย ทดลองใช้ในเรียนเรียนนำร่องแล้ว 20 โรงเรียน เพิ่มเป็น 400 โรงเรียนในปี 2552 - จัดทำโครงการประกวด อย. น้อย ปี 2552 คัดเลือกโครงงานต้นแบบให้แก่ อย. น้อย ทั่วประเทศ
สรุปเครือข่ายการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค ของ อย. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สสจ. . ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น เทศบาล และ อบต. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค สสอ. รพช. และ สอ. ภาคประชาชน อสม. และอย.น้อย
พัฒนากฎหมาย ประสาน/บูรณาการงานกับหน่วยงาน ที่เป็นแหล่งงบประมาณ Pre-marketing คุณภาพงานบริการ การอนุญาตก่อนออกสู่ท้องตลาด งาน คบส. OSSC ส่งเสริมงานคบส. ส่วนภูมิภาค Post-marketing คุณภาพงานบริการ เพิ่มช่องทางร้องเรียน เพิ่มช่องทางการประสานงานส่วนภูมิภาค รองฯ นรังสันต์ ภาคอีสาน เพิ่มความเข้มแข็ง/พัฒนาองค์ความรู้ของเครือข่าย เช่น อปท. อสม. และ อย.น้อย รองฯ วีรวรรณ ภาคเหนือ รองฯ พงศ์พันธ์ ภาคใต้ เพิ่มความเข้มแข็งส่วนสนับสนุน เพิ่มความเข้มแข็งในงานหลัก ส่วนกลาง