810 likes | 1.21k Views
การเตรียมความพร้อมของเด็กไทยกับอนาคตทางการศึกษา ต่อแนวปฏิบัติในการสอบแอด มิสชั่น และ การเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT ปี 2555 สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 และครูแนะแนวใน จ.ศรีสะ เกษ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน).
E N D
การเตรียมความพร้อมของเด็กไทยกับอนาคตทางการศึกษาต่อแนวปฏิบัติในการสอบแอดมิสชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT ปี 2555สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 และครูแนะแนวใน จ.ศรีสะเกษโดยรองศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) โดย สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
โครงการ 1 ทศวรรษราชภัฏศรีสะเกษ มหกรรมสัปดาห์วิชาการเทิดไท้องค์ราชันย์ 84 พรรษา วันที่ 6 มกราคม 2554 เวลา 10.00-12.00 น. ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ หน้า 2 www.niets.or.th
ประวัติผู้อำนวยการ สทศ. หน้า 3 www.niets.or.th
หัวข้อการประชุม • อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. • การจัดสอบของ สทศ. • วัตถุประสงค์ของการสอบ O-NET • หน่วยงานที่จัดสอบO-NET • ข้อสอบ O-NET ม.3 และ ม.6 ปีการศึกษา 2553 • รูปแบบข้อสอบของ สทศ. • การเตรียมตัวสอบO-NET และการดูผลคะแนน • ตารางสอบและระเบียบการสอบ หน้า 4 www.niets.or.th
อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ.(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) • ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำระบบ วิธีการทดสอบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตามมาตรฐานการศึกษา • ดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการจัดการศึกษาและการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ตลอดจนให้ความร่วมมือและสนับสนุนการทดสอบทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา • ดำเนินการเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษา บริการสอบวัดความรู้ความสามารถ และการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพื่อนำผลไปใช้เป็นส่วนหนึ่งในการเทียบระดับและการเทียบโอนผลการเรียนที่มาจากการศึกษาในระบบเดียวกันหรือการศึกษาต่างระบบ • ดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษาวิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนเผยแพร่เทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา หน้า 5 www.niets.or.th
อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ)(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) • เป็นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และให้บริการผลการทดสอบแก่หน่วยงานต่าง ๆ ได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ • พัฒนาและส่งเสริมวิชาการด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา รวมถึงพัฒนาบุคลากรด้านการทดสอบและประเมินผล ด้านการติดตามและประเมินผลคุณภาพบัณฑิต รวมทั้งการให้การรับรองมาตรฐานของระบบ วิธีการ เครื่องมือวัด ของหน่วยงานการประเมินผลและทดสอบทางการศึกษา • เป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ หน้า 6 www.niets.or.th
การจัดสอบของ สทศ. หน้า 7 www.niets.or.th
การจัดสอบของ สทศ. (ต่อ) หน้า 8 www.niets.or.th
องค์ประกอบของAdmissions Admissionsกลาง หน้า 9 www.niets.or.th
Admissions กลาง องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบ Admissions กลาง
องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขาองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขา
การสอบ O-NET การสอบO-NET หน้า 13 www.niets.or.th
วัตถุประสงค์ของการสอบO-NETวัตถุประสงค์ของการสอบO-NET • เพื่อทดสอบความรู้และความคิดของนักเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 • เพื่อนำผลการสอบไปใช้ • ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนในโรงเรียน • ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ • เป็นส่วนหนึ่งในการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในชั้น ม.1, ม.4 และมหาวิทยาลัย หน้า 14 www.niets.or.th
หน่วยงานต้นสังกัดที่สอบO-NETหน่วยงานต้นสังกัดที่สอบO-NET มีทั้งหมด 4 กระทรวง/เทียบเท่า รวม 9 หน่วยงาน 1. กระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ • สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน • สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (ยกเว้นจังหวัดสงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส) • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย) หน้า 15 www.niets.or.th
หน่วยงานต้นสังกัดที่สอบO-NET (ต่อ) 2. กระทรวงมหาดไทย ได้แก่ • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล โรงเรียน อบต. โรงเรียน อบจ.) • สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร • สำนักการศึกษาเมืองพัทยา 3. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้แก่ • สถาบันการพลศึกษา (โรงเรียนกีฬา) หน้า 16 www.niets.or.th
หน่วยงานต้นสังกัดที่สอบO-NET (ต่อ) 4. สำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ • กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน) • สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (โรงเรียนพระปริยัติธรรม) หน้า 17 www.niets.or.th
ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2553 ข้อสอบO-NET ม.6 หน้า 18 www.niets.or.th
Test Blueprint ม.6 1) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน้า 19
Test Blueprint ม.6 2) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ หน้า 20
Test Blueprint ม.6 3) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) หน้า 21
Test Blueprint ม.6 4) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า 22
Test Blueprint ม.6 5) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน้า 23
Test Blueprint ม.6 6) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา หน้า 24
Test Blueprint ม.6 7) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน้า 25
Test Blueprint ม.6 8) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน้า 26
จำนวนข้อของข้อสอบ O-NET ม.6 หน้า 27
ลักษณะข้อสอบ O-NETม.6(กุมภาพันธ์ 2554) • 1.ลักษณะข้อสอบ แบบปกติ (แบบเดียวกับที่สอบปีที่แล้ว) • 2.จำนวนชุดวิชาที่สอบ 6 วิชา (8 กลุ่มสาระการเรียนรู้) 2.1 วิชาที่ 1 สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2.2 วิชาที่ 2 สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ 2.3 วิชาที่ 3 สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2.4 วิชาที่ 4 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2.5 วิชาที่ 5 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.6 วิชาที่ 6 ประกอบด้วยสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา/ศิลปะ/ การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน้า 28 www.niets.or.th
ลักษณะข้อสอบ O-NETม.6(กุมภาพันธ์ 2554) • 3.ลักษณะข้อสอบแต่ละชุดวิชามี 2 แบบ คือ ชุด E และ Fเป็นข้อสอบคู่ขนาน • 4.จำนวนซองกระดาษคำตอบ 1 ซอง/ห้องสอบ/เรียงตามเลขที่นั่งสอบ • 5.จำนวนซองแบบทดสอบ 1 ซอง/ห้องสอบ • 6.จำนวนวันที่สอบ 2 วัน หน้า 29 www.niets.or.th
กระดาษคำตอบ O-NET ม.6 (กุมภาพันธ์ 2554) ตัวอย่าง หัวกระดาษคำตอบ ม.6 กระดาษคำตอบจริงจะพิมพ์ชื่อ-สกุล เลขประจำตัวประชาชน เลขที่นั่งสอบ ชุดวิชาที่สอบ ชื่อวิชาที่สอบ และสถานที่สอบ พร้อมฝนรหัสไว้ให้แล้ว หน้า 30 www.niets.or.th
กระดาษคำตอบสำรอง ม.6 (กุมภาพันธ์ 2554) ตัวอย่าง หัวกระดาษคำตอบสำรอง ม.6 หน้า 31 www.niets.or.th
ตารางสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 4 (ม.6) วันเสาร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2554 หน้า 32 www.niets.or.th
ตารางสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 4 (ม.6) วันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2554 หน้า 33 www.niets.or.th
การดูผลคะแนนสอบ O-NET การดูผลคะแนนสอบ O-NET หน้า 34 www.niets.or.th
ตัวอย่างใบรายงานผลสอบตัวอย่างใบรายงานผลสอบ O-NET รายบุคคล หน้า 35
ตัวอย่างผลการสอบ O-NET รายบุคคล หน้า 36
โรงเรียนดูจำนวนนักเรียนในแต่ละช่วงคะแนนของแต่ละวิชาโรงเรียนดูจำนวนนักเรียนในแต่ละช่วงคะแนนของแต่ละวิชา จะทำอย่างไรให้มีนักเรียนให้น้อยที่สุดที่อยู่ในช่วงคะแนนต่ำๆ นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงคะแนนใด จะทำอย่างไรให้นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงคะแนนที่สูงขึ้น ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ ช่วงคะแนนของผู้เข้าสอบ ระดับโรงเรียน หน้า 37
โรงเรียนดูค่าสถิติของโรงเรียนเปรียบเทียบกับจังหวัด สังกัด และประเทศ เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระของโรงเรียน จังหวัด สังกัด และประเทศ ในแต่ละสาระ ถ้าโรงเรียนได้น้อยกว่า จะทำอย่างไรให้ดีขึ้น ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ ค่าสถิติระดับโรงเรียน แยกตามสาระการเรียนรู้ หน้า 38
เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายมาตรฐานของโรงเรียน จังหวัด สังกัด และประเทศ ในแต่ละสาระ ถ้าโรงเรียนได้น้อยกว่า จะทำอย่างไรให้ดีขึ้น ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ ค่าสถิติระดับโรงเรียนแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้ หน้า 39
พิจารณาจำนวนผู้ตอบถูกรายข้อว่ามีร้อยละเท่าไร - ถ้ามีจำนวนน้อย เป็นเพราะเหตุใด (โรงเรียนสามารถขอข้อสอบที่สอบแล้วจากศูนย์สอบมาดูได้ ว่าข้อนั้นสอบเกี่ยวกับเรื่องอะไร ครูได้เคยสอนหรือไม่) - เปรียบเทียบร้อยละของผู้ตอบถูกของโรงเรียน กับจังหวัด สังกัด และประเทศ ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ละข้อ ระดับโรงเรียน หน้า 40
การสอบ GAT/PAT การสอบ GAT/PAT หน้า 41 www.niets.or.th
การสอบ GAT/PAT GAT/PAT คืออะไร GAT หรือ General Aptitude Test คือ การสอบวัดความถนัดทั่วไป PAT หรือ Professional and Academic Aptitude Test คือ การสอบวัดความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ
การสอบ GAT/PAT (ต่อ) สอบ GAT/PAT เพื่ออะไร สทศ. จัดสอบ GAT/PAT เพื่อให้ผู้เข้าสอบสามารถนำผล การสอบไปใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 1) ระบบรับกลาง หรือ Admissions กลาง 2) ระบบรับตรง (ขึ้นอยู่กับประกาศของแต่ละคณะและมหาวิทยาลัย)
การสอบ GAT/PAT (ต่อ) สอบ GAT/PAT เมื่อไร สทศ.จัดสอบ GAT/PAT ปีละ 3 ครั้ง ในเดือนมีนาคม กรกฎาคม และตุลาคม ของทุกปี นักเรียนสามารถติดตามกำหนดการและรายละเอียดได้ทาง website ของ สทศ. (www.niets.or.th) นักเรียนไม่จำเป็นต้องสมัครทุกวิชา ทุกครั้ง นักเรียนควรเลือกเฉพาะวิชาที่ต้องใช้ในการยื่นสมัคร Admissions กลาง หรือรับตรง และเลือกสมัครสอบในช่วงที่พร้อม
ข้อสอบ GAT/PAT ข้อสอบ GAT/PAT หน้า 45 www.niets.or.th
GAT: General Aptitude Test สอบ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ มี 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1คือ ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ แก้ปัญหา คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั่วโมง ส่วนที่ 2คือ ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (การพูด, คำศัพท์, โครงสร้างการเขียน และการอ่าน) คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั่วโมง
PAT: Professional and Academic Aptitude Test สอบวิชาละ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน มี 7 ประเภท PAT 1 คือ ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT 2 คือ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ PAT 3 คือ ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ PAT 4 คือ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ PAT 5 คือ ความถนัดทางวิชาชีพครู PAT 6 คือ ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ PAT 7 คือ ความถนัดในการเรียนภาษาต่างประเทศ PAT 7.1 ภาษาฝรั่งเศส PAT 7.4 ภาษาจีน PAT 7.2 ภาษาเยอรมัน PAT 7.5 ภาษาบาลี PAT 7.3 ภาษาญี่ปุ่น PAT 7.6 ภาษาอาหรับ