1 / 32

การจัดหมวดหมู่

เทคโนโลยีสิทธิบัตร. การจัดหมวดหมู่. (IPC). แบบสากล. จัดทำโดย นางสาว จิตราภรณ์ แสนสิทธิ์ sansitj@yahoo.com Tel: 02-9428629/ 626, 908.

elliot
Download Presentation

การจัดหมวดหมู่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคโนโลยีสิทธิบัตร การจัดหมวดหมู่ (IPC) แบบสากล จัดทำโดย นางสาว จิตราภรณ์ แสนสิทธิ์ sansitj@yahoo.com Tel: 02-9428629/ 626, 908

  2. เอกสารสิทธิบัตรนานาชาติของเทคโนโลยีการผลิตสินค้าต่างๆจากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนมากกว่า 50 ล้านเรื่องนั้น ถูกจัดจำแนกออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบและสืบค้นเอกสารสิทธิบัตร

  3. ตัวอย่างการจัดหมวดหมู่แบบต่างๆตัวอย่างการจัดหมวดหมู่แบบต่างๆ - การจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรแบบสากล (IPC) - การจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรแบบยุโรป(EC) - การจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรแบบอเมริกา(USPC)

  4. IPC (International Patent Classification) คือ ระบบการจัดจำแนกสิทธิบัตรแบบสากล ที่จัดโดยองค์กรทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO) ระบบ IPC จะแก้ไขทุก 5 ปี ปัจจุบันใช้ IPCที่แก้ไขครั้งที่ 7 (seventh edition) ซึ่งมีกำหนดใช้ในช่วง 1 ม.ค 2543- 31 ธ.ค 2548

  5. หมวดหมู่สิทธิบัตรจะแบ่งเป็นลำดับขั้นต่อๆกัน โดยใช้ตัวเลขและตัวอักษรในการจัดลำดับ - Sections(หมวด) 8 หมวดหลัก - Classes(ประเภท) 120 ประเภท - Subclasses(ประเภทย่อย) 628 ประเภทย่อย -Groups(หมู่) 69,000 หมู่ - Main groups(หมู่หลัก) - Sub groups(หมู่ย่อย)

  6. ตัวอย่าง: ตำแหน่งที่ระบุ IPC จากผลการสืบค้นเอกสารสิทธิบัตร (สำนักสิทธิบัตรยุโรป)

  7. ตัวอย่าง: ตำแหน่งที่ระบุIPC ในเอกสารสิทธิบัตร(สำนักสิทธิบัตรญี่ปุ่น)

  8. สัญลักษณ์ของIPC เช่น“ A63F9/24” ASECTION (หมวด) A63CLASS (ประเภท) A63FSUB CLASS (ประเภทย่อย) A63F9/24 GROUP (หมู่) 9/00MAIN GROUP (หมู่หลัก) 9/24SUB GROUP (หมู่ย่อย)

  9. การค้นรายละเอียด IPC แบบที่ 1 ค้นจากการหมวดหมู่ตามลำดับขั้น - เริ่มต้นหาไปจากระดับหมวด ค้นได้ที่สำนักสิทธิบัตรโลกhttp://www.wipo.int

  10. สำนักสิทธิบัตรโลกhttp://www.wipo.intสำนักสิทธิบัตรโลกhttp://www.wipo.int

  11. หน้าจอแสดงรายละเอียดระดับ section

  12. 8 หมวดหลัก (Section) เรียงลำดับ A ถึง H ได้แก่ Sections A: สิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ B:อุตสาหการ,การขนส่ง C: เคมี, โลหะวิทยา D: สิ่งทอ, กระดาษ E: สิ่งก่อสร้างถาวร F:วิศวกรรมเครื่องกล, แสง, ความร้อน G: ฟิสิกส์ H: เกี่ยวกับไฟฟ้า

  13. คลิกไปดูรายละเอียดของหมวดหมู่ที่สนใจคลิกไปดูรายละเอียดของหมวดหมู่ที่สนใจ

  14. สรุป ความหมายสัญลักษณ์ที่ใช้ระบุ IPC

  15. การค้นหาความหมายของเลข IPCของสิทธิบัตรที่สนใจ เช่น

  16. ใส่เลขลงในช่อง IPCแล้วคลิกที่ Go!

  17. การค้นรายละเอียด IPC แบบที่ 2 ค้นจากคำศัพท์ (key word) - สิทธิบัตรบางเรื่องอาจจัดได้หลายหมวด การเริ่มหาจากระดับsectionอาจทำให้ล่าช้า

  18. คลิกช่วงของศัพท์ที่ต้องการคลิกช่วงของศัพท์ที่ต้องการ เช่น หาคำว่าmilk

  19. การใช้ IPC เพื่อสืบค้นสิทธิบัตร

  20. สืบค้นสิทธิบัตรเรื่อง“milk”สืบค้นสิทธิบัตรเรื่อง“milk” โดยระบุ IPCA23B พบ 87 เรื่อง สืบค้นสิทธิบัตรเรื่อง“milk” พบ 12019 เรื่อง

  21. สืบค้นสิทธิบัตรเรื่อง“herb”สืบค้นสิทธิบัตรเรื่อง“herb” โดยระบุ IPCA23B พบ 27 เรื่อง สืบค้นสิทธิบัตรเรื่อง“herb” พบ 1357 เรื่อง การใช้ IPC ในการค้นหาสิทธิบัตรนานาชาติ

  22. จัดทำโดย นางสาว จิตราภรณ์ แสนสิทธิ์ sansitj@yahoo.com Tel: 02-9428629/ 626, 908

More Related