470 likes | 965 Views
มาตรฐานโรงพยาบาล ส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ผสมผสาน. ความเป็นมา. 2547 จัดทำมาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เพื่อให้มีแนวทางการจัดบริการที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินมาตรฐานฯ ปรับปรุงมาตรฐานฯ ในปี 2551 และ 2555.
E N D
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
ความเป็นมา 2547 จัดทำมาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เพื่อให้มีแนวทางการจัดบริการที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินมาตรฐานฯ ปรับปรุงมาตรฐานฯ ในปี 2551 และ 2555 งานบริการการแพทย์แผนไทยได้รับการผสมผสานสู่ระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ หน่วยบริการมีการให้บริการแพทย์แผนไทยแก่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย สถาบันการแพทย์แผนไทยร่วมกับคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานงานบริการ การแพทย์แผนไทย
มาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ(เดิม)มาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ(เดิม) เป็นมาตรฐานเฉพาะงานบริการการแพทย์แผนไทยเท่านั้น ในระดับโรงพยาบาลและในระดับสถานีอนามัย ประกอบด้วย 5 ด้าน ด้านสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ และสิ่งแวดล้อม ด้านบุคลากร ด้านการปฏิบัติงาน ด้านการควบคุมคุณภาพ ด้านการจัดบริการ
● สถาบันการแพทย์แผนไทย สนับสนุนคู่มือมาตรฐานให้กับหน่วยงานในส่วนภูมิภาคทุกแห่ง สนับสนุนงบประมาณให้สสจ. ประเมินมาตรฐานภายในจังหวัด ออกใบรับรองการได้มาตรฐานให้กับหน่วยงานที่ได้มาตรฐาน ● สำนักงานงานสาธารณสุขจังหวัด มีการตั้งคณะกรรมการประเมินมาตรฐาน ประเมินมาตรฐาน 2 ปี/ครั้ง ส่งผลการประเมินให้สถาบันการแพทย์แผนไทย
ผลการประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2554
ผลการประเมินมาตรฐานงานบริการด้านการนวด ปีงบประมาณ 2554
การจัดทำมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานการจัดทำมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน • ในปลายปีงบประมาณ 2555 สถาบันการแพทย์แผนไทยร่วมกับคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทย ปรับปรุงมาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทย 5 ด้าน • ในต้นปีงบประมาณ 2556 รมต.ว่าการกระทรวงสาธารณสุข : นพ.ประดิษฐสินธวณรงค์ รมช.ว่าการกระทรวงสาธารณสุข : นพ.ชลน่าน ศรีแก้ว กำหนดวิสัยทัศน์ในการดำเนินงาน “ ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและ ทางอ้อมอย่างยั่งยืน” กำหนดพันธกิจ เป้าและเป้าหมาย กลยุทธ์การดำเนินงาน ภารกิจเร่งด่วน
•ปลัดกระทรวงสาธารณสุข : นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ได้กำหนดตัวชี้วัดเป็นเป้าหมายในระดับต่างๆ เพื่อให้วิสัยทัศน์ประสบความสำเร็จ เป้าหมายระยะ 10 ปี เป้าหมายระยะ 3-5 ปี เป้าหมาย 1-2 ปี (ระดับเขตสุขภาพ/จังหวัด) •ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ คือ “ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ได้มาตรฐาน (14%)(ของเขตและสสจ.ร้อยละสามสิบ) •ดังนั้น จึงต้องมีเครื่องมือในการขับเคลื่อนทำให้ตัวชี้วัดประสบความสำเร็จ จัดทำมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.)(Thai Traditional Medicine & Integrative Medicine Promoting Hospital Standard (TIPhS)) • ด้านสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ และสิ่งแวดล้อม • ด้านบุคลากร • ด้านการปฏิบัติงาน • ด้านการควบคุมคุณภาพ • ด้านการจัดบริการ ประกอบด้วย 5 ด้าน
การเปรียบเทียบมาตรฐานเดิมและมาตรฐาน รพ.สส.พท. มาตรฐานเดิม มาตรฐาน รพ.สส.พท. • งานบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน • ประกอบด้วย 5 ด้าน • ด้านที่ 1-4 เฉพาะงานบริการการแพทย์แผนไทย • ด้านที่ 5 งานบริการการแพทย์แผนไทย + งานการแพทย์ผสมผสาน • ระดับ รพ.สต., รพช., รพศ./รพท. • งานบริการการแพทย์แผนไทย • ประกอบด้วย 5 ด้าน • ด้านที่ 1-4 เฉพาะงานบริการการแพทย์แผนไทย • ด้านที่ 5 งานบริการการแพทย์แผนไทย • ระดับสถานีอนามัยและโรงพยาบาล
การเปรียบเทียบมาตรฐานเดิมและมาตรฐาน รพ.สส.พท. มาตรฐานเดิม มาตรฐาน รพ.สส.พท. • ด้านสถานที่ ส่วนใหญ่เหมือนเดิม ปรับปรุงห้องตรวจโรค/ห้องเก็บยา/ ห้องปรุงยา/ห้องนวด/ห้องอบ เพิ่มห้องเตรียมอุปกรณ์ทับหม้อเกลือ ห้องส้วม • ด้านบุคลากร ส่วนใหญ่เหมือนเดิม ปรับปรุงเกณฑ์การให้คะแนน • ด้านการปฏิบัติงาน เหมือนเดิม • ด้านการควบคุมคุณภาพ เหมือนเดิม • ด้านการจัดบริการ จัดทำใหม่/ปรับปรุง มี 8 ด้าน
รายละเอียดของมาตรฐาน รพ.สส.พท. ในแต่ละระดับ
การประเมินมาตรฐานรพ.สส.พท.การประเมินมาตรฐานรพ.สส.พท. สสจ. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินมาตรฐาน รพ.สส.พท. องค์ประกอบและจำนวนคณะกรรมการ วิธีการประเมิน ประเมิน 2 ปี/ครั้ง เริ่มปีงบประมาณ 2556 หน่วยงานประเมินตนเอง ต้น กพ.56 สสจ. ประเมินครั้งที่ 2 มิย.56 ประเมินต่อในปีงบประมาณ 2558*
การเผยแพร่การประเมินมาตรฐาน รพ.สส.พท. • กรมมีหนังสือถึง สสจ. ที่ สธ 0503.03/342 ลว. 31 มค.56 เรื่องการประเมิน มาตรฐานรพ.สส.พท. ครั้งที่ 1 หน่วยบริการประเมินตนเอง ภายในต้นกพ.56 สสจ.รวบรวมข้อมูลส่งให้สถาบันฯ ภายใน กพ.56 ●ผลการประเมินมาตรฐาน ●ผลงานตามตัวชี้วัด (1 ตค.55 - 31 มค.56) ครั้งที่ 2 สสจ.ประเมินหน่วยบริการภายในจังหวัด มิย.56 สสจ. รวบรวมข้อมูลส่งสถาบันฯ ภายใน มิย.56 ● ผลการประเมินมาตรฐาน ● ผลงานตามตัวชี้วัด (1 ตค.55 - 31 พค.56) • หน่วยบริการดูรายละเอียด : หนังสือฉบับนี้, คู่มือมาตรฐาน, แบบรายงานการประเมินมาตรฐาน www.dtam.moph.go.th www.moph.go.th (ช่องข่าวแจ้งหน่วยงานภายใน เรื่อง การประเมินมาตรฐาน รพ.สส.พท.)
แนวทางการคำนวณคะแนนผลการประเมินมาตรฐานแนวทางการคำนวณคะแนนผลการประเมินมาตรฐาน 1. รวบรวมคะแนนที่ได้ของการประเมินมาตรฐานในแต่ละด้าน 2. รวบรวมคะแนนเต็มของมาตรฐานในแต่ละด้าน (ในแต่ระดับหน่วยบริการจะมี คะแนนเต็มไม่เท่ากัน) 3. คำนวณร้อยละของคะแนนที่ได้ในแต่ละด้านทั้งในระดับ รพศ./รพท./รพช. และรพ.สต. ดังนี้ สูตร ร้อยละของคะแนนที่ได้ในแต่ละด้าน = คะแนนที่ได้ในแต่ละด้าน x 100 คะแนนเต็มในแต่ละด้าน
4. คำนวณร้อยละของคะแนนที่ได้ในภาพรวมทั้ง 5 ด้าน4.1 กำหนดน้ำหนักคะแนนของมาตรฐานในแต่ละด้าน ดังนี้ (น้ำหนักคะแนนมาตรฐานทั้ง 5 ด้านเท่ากับ 100)
4.2 คำนวณร้อยละของคะแนนที่ได้โดยมีการคำนวณน้ำหนักคะแนนของแต่ละด้าน และรวมร้อยละของคะแนนที่ได้ในภาพรวมทั้ง 5 ด้าน ดังนี้
เกณฑ์การประเมินมาตรฐานเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน