1 / 22

การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส

P1. การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส. กฤษ เฉยไสย ประยงค์ เสาร์แก้ว ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น E-mail: krit@elec.kku.ac.th , prayong_s@thaimail.com. P 2. บทคัดย่อ. พารามิเตอร์ของมอเตอร์. ศึกษาการทำงานของ IM.

elon
Download Presentation

การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. P1 การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส กฤษ เฉยไสย ประยงค์ เสาร์แก้ว ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น E-mail: krit@elec.kku.ac.th , prayong_s@thaimail.com

  2. P2 บทคัดย่อ พารามิเตอร์ของมอเตอร์ ศึกษาการทำงานของ IM Motor Control

  3. วงจรเสมือนมอเตอร์เหนี่ยวนำวงจรเสมือนมอเตอร์เหนี่ยวนำ มอเตอร์เหนี่ยวนำ P3 1. บทนำ

  4. P4 2. หลักการหาค่าพารามิเตอร์มอเตอร์เหนี่ยวนำ 2.1 มอเตอร์อยู่นิ่ง ในสภาวะที่มอเตอร์ยังไม่ทำงาน จากโครงสร้างของมอเตอร์สามารถประมาณค่าความต้านทานสเตเตอร์ ได้จากการวัดค่าความต้านทานขดลวดสเตเตอร์โดยใช้โอห์มมิเตอร์

  5. P5 2.2 มอเตอร์ทำงานที่สภาวะไม่มีโหลด มอเตอร์จะหมุนที่ความเร็วรอบสูงสุด ประมาณว่า s=0 และ Rs<<XLm

  6. P6 2.3 มอเตอร์ทำงานที่สภาวะโรเตอร์ถูกล็อคไม่ให้หมุน ค่าสลิป ( S=1) ของมอเตอร์จะมีค่าเป็นหนึ่ง

  7. P7 ดังนั้น ค่าความต้านทานโรเตอร์คำนวณจากสมการ ค่าความเหนี่ยวนำในวงจร โดยทั่วไปจะประมาณค่าความเหนี่ยวนำรั่วสเตเตอร์เท่ากับค่าความเหนี่ยวนำรั่วโรเตอร์

  8. P8 3. การจำลองการทำงานมอเตอร์เหนี่ยวนำ จำลองการทำงานโดยใช้ไดนามิคโมเดล( Dynamic Model )ที่มีแกนอ้างอิงบนแกนหมุนซิงโครนัส ( Synchronously rotating references model )

  9. 4. การทดสอบมอเตอร์เหนี่ยวนำ เมื่อนำไปทดสอบหาค่าพารามิเตอร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำ ยี่ห้อ Mitsubishi รุ่น SF-JR ขนาด 3 , 2 Hp , 4 pole , 380 V , 3.5 A , 50 Hz , 1450 rpm 4.1 มอเตอร์อยู่นิ่ง วัดค่าความต้านทานของขดลวดสเตเตอร์โดยใช้ดิจิตอลโอห์มมิเตอร์ได้ P9

  10. 4.2 มอเตอร์ทำงานที่สภาวะไม่มีโหลด ผลการวัดค่าแรงดันและกระแสเฟสของมอเตอร์ Vun = 218.6 Vrms Iu = 1.79 A , f = 50 Hz , p.f. = 0.06 ,  = 86.4 P10

  11. 4.3 มอเตอร์ทำงานที่สภาวะโรเตอร์ถูกล็อคไม่ให้หมุน ผลการวัดค่าแรงดันและกระแสเฟสของมอเตอร์ Vun = 19.12 Vrms Iu = 1.42 A f = 50 Hz p.f. = 0.368 ,  = 68.4  P11

  12. 4.4 ผลการจำลองการทำงาน I = 3.5 A ( rated ) Error = 5.87 % รูปที่ 8 กระแสเฟสของมอเตอร์ P12

  13. รูปที่ 9 เฟสของแรงดันและกระแสของมอเตอร์ P13

  14. speed = 1450 rpm ( rated ) Error = 1.03 % รูปที่ 10 ความเร็วรอบของมอเตอร์ P14

  15. รูปที่ 11 แรงบิดของมอเตอร์ P15

  16. P16 รูปที่ 12 สลิปของมอเตอร์

  17. รูปที่ 13 ทางเดินเส้นแรงแม่เหล็กที่สเตเตอร์ P17

  18. P18 รูปที่ 14 ขนาดกระแสที่สเตเตอร์และโรเตอร์

  19. เปรียบเทียบมอเตอร์ทำงานที่สภาวะไม่มีโหลดเปรียบเทียบมอเตอร์ทำงานที่สภาวะไม่มีโหลด ผลการวัดค่าแรงดันและกระแสเฟสของมอเตอร์ ผลการ Simulation Vun = 218.6 Vrms Iu = 1.79 A , f = 50 Hz Vun=218.6Vrms , Iu=1.69 A , f=50Hz Error=5.58% P19

  20. เปรียบเทียบมอเตอร์ทำงานที่สภาวะโรเตอร์ถูกล็อคไม่ให้หมุนเปรียบเทียบมอเตอร์ทำงานที่สภาวะโรเตอร์ถูกล็อคไม่ให้หมุน ผลการ Simulation ผลการวัดค่าแรงดันและกระแสเฟสของมอเตอร์ Vun = 19.12 Vrms , Iu = 1.42 A , f = 50 Hz Vun=19.12 Vrms , Iu=1.45 A , f=50Hz Error=2.11% P20

  21. P21 5. สรุป การหาค่าพารามิเตอร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำที่นำเสนอเป็นวิธีอย่างง่ายไม่ยุ่งยากและสามารถนำไปจำลองการทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้จริง สามารถศึกษาลักษณะของแรงดัน กระแส ความเร็วรอบ แรงบิด สลิป และเส้นแรงแม่เหล็กของมอเตอร์ได้ และให้ผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงกับคุณสมบัติของมอเตอร์ที่ปรากฏบนเนมเพลท โดยมีค่าความผิดพลาดของกระแสเฟสที่ 5.87% และค่าความผิดพลาดของความเร็วที่ 1.03% เท่านั้น ซึ่งถือว่ามีความผิดพลาดน้อยมาก

  22. P22 ขอขอบคุณ ผู้เข้าร่วมฟังบรรยายทุกท่าน

More Related