1.05k likes | 1.51k Views
บทที่ 2 อุปกรณ์สำหรับบันทึกข้อมูล. หน่วยความจำ (Memory). Memory ใช้สำหรับการเก็บ Data หรือ Program และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงาน ประกอบด้วย หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หน่วยความจำ สำ รอง (Secondary Memory). หน่วยความจำหลัก (Main Memory).
E N D
บทที่ 2 อุปกรณ์สำหรับบันทึกข้อมูล อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
หน่วยความจำ (Memory) Memory ใช้สำหรับการเก็บ Data หรือ Program และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงาน ประกอบด้วย • หน่วยความจำหลัก (Main Memory) • หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory) อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
หน่วยความจำหลัก (Main Memory) • หน่วยความจำหลัก (Main Memory) ROM & RAM • จะทำงานใกล้ชิดกับ CPU • จะทำงานด้วยความเร็วสูง เมื่อเทียบกับอุปกรณ์อื่น ๆ • ใช้เก็บข้อมูลหรือคำสั่ง สำหรับให้ CPU นำไปประมวลผล • จะมีความจุในการเก็บข้อมูลน้อยกว่าหน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory) อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
ROM (Read Only Memory) • ROM คือหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ถาวร เช่น เก็บโปรแกรมควบคุมการจัดการพื้นฐานของระบบไมโครคอมพิวเตอร์ (bios) • หากไฟฟ้าดับคือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้กับวงจรหน่วยความจำข้อมูลที่เก็บไว้จะไม่หายหมด 1. PROM (Programmable Read Only Memory) 2. EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) 3. EEPROM (Electrically Erasable Programmable Read Only Memory) อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
RAM (Random Access Memory) • RAM คือหน่วยความจำที่ใช้เป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลไว้โดยต้องมีกระแสไฟฟ้าเลี้ยงไว้ตลอดเวลา หากไฟฟ้าดับคือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้กับวงจรหน่วยความจำข้อมูลที่เก็บไว้จะหายไปหมด(Volatile Memmory หน่วยความจำแบบลบเลือนได้) 1. DRAM (Dynamic Random Access Memory) 2. SRAM (Static Random Access Memory) อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
หน่วยความจำรอง (Secondary Memory) • หน่วยความจำรอง (Secondary Memory) • จะติดต่อกับหน่วยความจำหลัก • ใช้สำหรับเก็บ Program และ Data ขณะที่ยังไม่ถูกเรียกใช้งาน ซึ่งจะถูกเก็บไว้ในรูปของ Files • CPU จะไม่ติดต่อโดยตรงกับหน่วยความจำสำรอง แต่จะติดต่อกันผ่านหน่วยความจำหลัก • เมื่อมีการเรียกใช้โปรแกรม โปรแกรมจะถูกเรียกจากหน่วยความจำสำรอง ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก เพื่อให้ CPU นำไปประมวลผล • ใช้สำหรับเก็บข้อมูลในระยะยาว สามารถบันทึกข้อมูลได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง(Nonvolatile Memmory หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน) • มีความจุมากกว่าหน่วยความจำหลัก และมีราคาถูกกว่า แต่ทำงานได้ช้ากว่า • โดยทั่วไปได้แก่ Harddisk, Floppy Disk, CD-ROM Disk,Tape อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
สรุปความแตกต่างระหว่างหน่วยความจำหลักและรองสรุปความแตกต่างระหว่างหน่วยความจำหลักและรอง สาเหตุที่ต้องมีหน่วยความจำ 2 ประเภทเพราะ • หน่วยความจำหลัก • ทำงานได้เร็ว • ราคาต่อความจุแพง • มักมีความจุต่ำ • ทำงานใกล้ชิดกับ CPU • ต้องมีกระแสไฟฟ้าเลี้ยงตลอด • หน่วยความจำรอง • ทำงานได้ช้า • ราคาต่อความจุต่ำกว่า • มีความจุมากกว่า • และเก็บข้อมูลได้โดยไม่ต้องมีกระแสไฟเลี้ยง อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
ลักษณะการเข้าถึงข้อมูลลักษณะการเข้าถึงข้อมูล • อุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่เข้าถึงแบบลำดับ (Sequential Access Storage Device : SASD) • ไม่สามารถกำหนดหมายเลขตำแหน่ง (nonaddressable) • i.e. Magnetic Tape • อุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่เข้าถึงแบบสุ่มหรือโดยตรง (Direct Access Storage Device - DASD) - กำหนดหมายเลขตำแหน่งได้ (addressable ) • เช่น Magnetic Disk อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
คุณสมบัติที่ต้องคำนึงถึงสำหรับExternal Storage Device • Access Time • Storage Capacity • Security • Transfer Rate • Cost • Standard • Access Mode • Portability อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
บัตรเจาะรู อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Magnetic Tape แบ่งออกเป็น 2 ประเภท • เทปชนิดม้วน (Reel Tape) • เทปคาร์ทริดจ์ (Cartridge Tape) ลักษณะ แถบทำด้วยพลาสติก ด้านหนึ่งเคลือบด้วยสารแม่เหล็ก กว้าง 0.5 นิ้ว ยาว 2400-3600 ฟุต ความหนาแน่น 800, 1000,1600,3200,6250 cpi อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
เทปแม่เหล็กชนิดม้วน อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
เทปคาร์ทริดจ์ อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
เทปคาร์ทริดจ์ อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
เทปแม่เหล็ก แบ่งเป็นแถว เรียกว่า track และ column 1 column บันทึกข้อมูลได้ 1 ตัวอักษร มี 2 ชนิด • 7 track • 9 track อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
การแทนค่าข้อมูลในเทปแม่เหล็กการแทนค่าข้อมูลในเทปแม่เหล็ก Parity Check Bit - Odd , Even การเก็บข้อมูลบนแถบเทป อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
เทปแม่เหล็ก อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
9-track tape Track GAP GAP Odd Parity check bit 1 0 2 0 3 0 4 1 5 1 6 0 7 0 8 1 9 0 อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Odd / Even Parity • ใช้ตรวจสอบความผิดพลาดในการเก็บบันทึกข้อมูล • Odd Parity : การเก็บCheck Parityค่าเลข 1 เป็นเลขคี่ • Even Parity : การเก็บCheck Parityค่าเลข 1 เป็นเลขคู่ อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Magnetic Tape • ความจุของเทปหรือความหนาแน่น - Tape Density คือ ปริมาณข้อมูลที่สามารถบันทึกได้ในความยาวหนึ่งหน่วย (bytes per inch : bpi, character per inch :cpi) • Inter Record Gap (IRG) , Inter Block Gap (IBG) • Tape Length = gap length + data length • Tape Speed อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
การบันทึกข้อมูลแบบทีละ record ความจุข้อมูลของเนื้อเทปจะน้อย อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
การบันทึกข้อมูลแบบ Block มี 2 แบบ • Single Record Block - 1 block 1 Record • Multiple Records Block - 1 block หลายๆ Record • Blocking Factor - จำนวน Record ใน 1 block อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
การคำนวณหาเนื้อที่เทปการคำนวณหาเนื้อที่เทป St = เนื้อที่ทั้งหมดที่ใช้เก็บแฟ้มข้อมูลที่มี N1ระเบียน (หน่วยเป็นนิ้ว) N1 = จำนวนระเบียน BF = Blocking Factor (จำนวนระเบียนในแต่ละบล็อก) * IBG = Inter Block Gap LRL = ความยาวของระเบียน (จำนวนตัวอักษรใน 1 ระเบียน) * DEN = ความหนาแน่น (Density) * เนื้อที่เทป = จำนวนบล็อก x ขนาดของแต่ละบล็อก เนื้อที่เทป =(จำนวนระเบียน / BF)x (IBG + ส่วนบันทึกข้อมูล) St = N1 (IBG + BF x LRL) BF DEN อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
ตัวอย่าง Magnetic Tape ม้วนหนึ่งมีความยาว gap เป็น 0.75 นิ้ว และมีความหนาแน่นของข้อมูลในเทป (Tape Density) เป็น 800 bpi มีข้อมูลจำนวน 10,000 ระเบียน แต่ละระเบียนมีความยาว 160 ตัวอักษร จงคำนวณหาเนื้อที่เทป ถ้าเก็บข้อมูล 3 ระเบียนต่อ 1 บล็อกข้อมูล อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
วิธีทำ N1 = 10,000 BF = 3 LRL = 160 DEN = 800 cpi IBG = 0.75 St = N1/BF (IBG + (BF x LRL)/DEN) = 10000/3 x (0.75 + (3 x 160)/800) = 4500.9 นิ้ว = 375 ฟุต อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
การคำนวณหาเวลาที่ใช้ในการอ่านข้อมูลการคำนวณหาเวลาที่ใช้ในการอ่านข้อมูล เวลาที่ใช้ในการอ่านข้อมูล = จำนวนบล็อก x เวลาที่ใช้อ่านข้อมูลแต่ละบล็อก = จำนวนบล็อก x ( เวลาที่ผ่านช่อง1gap + เวลาอ่านข้อมูล1บล็อก) Tt = N1 (Ta + BF x LRL ) BF SPD1 X DEN Ta = IBG/SPD2 SPD1 = ความเร็วในการอ่านเทปช่วงผ่านข้อมูล SPD2 = ความเร็วในการอ่านเทปช่วงผ่าน gap BF = Blocking Factor IBG = Inter Block Gap DEN = ความหนาแน่น (Density) อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
ตัวอย่าง จงคำนวณหาเวลาที่ใช้ในการอ่านข้อมูลใน Magnetic Tapeถ้ากำหนดเวลาในการอ่านม้วนเทปช่วงผ่านบล็อกข้อมูลเป็น 75 ips ความเร็วในการอ่านช่วงผ่าน gap เป็น 25 ips และบันทึกข้อมูล 3 ระเบียนใน 1 บล็อกข้อมูล ความยาว gap เป็น 0.75 นิ้ว และมีความหนาแน่นของข้อมูลในเทป (Tape Density) เป็น 16,00 bpi มีข้อมูลจำนวน 10,000 ระเบียน แต่ละระเบียนมีความยาว 160 ตัวอักษร อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
วิธีทำ N1 = 10,000 ระเบียน BF = 3 records/block LRL = 160 ตัวอักษร DEN = 1600 cpi IBG = .75 นิ้ว SPD1 = 75 ips SPD2 = 25 ips Ta = IBG/SPD2 = .75/25 = 0.03 seconds Tt = N1/BF (Ta + (BF x LRL)/(SPD1 x SPD2)) = 10000/3 x (0.03 + (3 x 160)/(75 x 1600) = 113.33 วินาที อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Magnetic Tape • Large Capacity • Sequential Access • Batch Processing • Non-Addressable • Slow อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
ข้อดีของการใช้เทปแม่เหล็ก ข้อดีของการใช้เทปแม่เหล็ก • ไม่จำกัดความยาวของระเบียน เก็บข้อมูลแต่ละรายการด้วยความยาวที่ไม่คงที่ได้ • ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ เคลื่อนย้ายสะดวก ระวังรักษาง่าย • ราคาต่อหน่วยถูก บันทึกข้อมูลซ้ำได้ บันทึกข้อมูลได้มาก • ความเร็วในการถ่ายทอดข้อมูลสูง • ลบ แก้ไขข้อมูลได้ • เป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง (Backup File) อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
ข้อจำกัดในการใช้เทปแม่เหล็กข้อจำกัดในการใช้เทปแม่เหล็ก • ต้องใช้เครื่องในการอ่านข้อมูล • ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง • ประมวลผลได้เฉพาะแบบลำดับ • สภาพแวดล้อมมีผลต่อข้อมูล สถานที่เก็บต้องเหมาะสม ระวังเรื่องฝุ่น อุณหภูมิ และสนามแม่เหล็ก • เข้าถึงข้อมูลได้ครั้งละ 1 คน • ต้องระวังในการจับถือ (สิ่งสกปรก รอยนิ้วมือ และการชำรุดแตกหัก) • ต้องระวังการลบข้อมูลผิดพลาด • การเขียนโปรแกรมควบคุมเทปยุ่งยาก อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
งานที่เหมาะกับเทปแม่เหล็ก งานที่เหมาะกับเทปแม่เหล็ก • งานที่มีข้อมูลปริมาณมาก • ใช้เป็นสื่อในการเก็บข้อมูลสำรอง (Back Up) • เป็นงานที่ไม่ต้องเร่งรีบ มีช่วงเวลาการทำงานที่ตายตัวแน่นอน อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Hard disk Drive หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Magnetic Disk (จานแม่เหล็ก) ลักษณะ • แผ่นกลมๆ บางๆ ผิวฉาบด้วยสารแม่เหล็ก • Sequential & Direct Access Storage Device • Online • Inquiry • Interactive Processing • Addressable • Fast อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Magnetic Disk (จานแม่เหล็ก) • จานแม่เหล็กจะต้องใช้คู่กับ ตัวขับจานแม่เหล็ก หรือดิสก์ไดรฟ์ (disk drive) ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับอ่านเขียนจานแม่เหล็ก (มีหน้าที่คล้ายกับเครื่องเล่นเทป) • แต่ละแผ่นของจานแม่เหล็ก เรียกว่า platter อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Harddisk อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Harddisk ปลอกเปลือก อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Harddisk อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Small Hard Disk with 1 GB อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Magnetic Disk • Track 200-800 track/1 platter วงนอกสุด track 0 • Sector แบ่งแต่ละ track • Cylinder track ที่ตรงกันในแต่ละ platter • Side ด้านของ platter บน/ล่าง อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Tracks : การแบ่งพื้นที่บนจานแม่เหล็กใน ลักษณะวงกลม (เหมือนลู่วิ่ง) อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Sector : การแบ่งพื้นที่ในแต่ละ Track ออกเป็นส่วนๆ (เหมือนชิ้นขนมเค้ก) 1 sector = 512 bytes อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
Cylinder :กลุ่มของ Track ที่มีหมายเลขเดียวกัน แต่ปรากฏอยู่บนจาน (Platter) ที่ต่างกัน จำนวน cylinder = จำนวน track แต่ละ cylinder มีจำนวน track เท่ากับจำนวนด้านที่บันทึกข้อมูล อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
การคำนวณความจุของจานแม่เหล็กการคำนวณความจุของจานแม่เหล็ก ความจุ = จำนวน cylinder * จำนวน track * จำนวน sector * จำนวน bytes/sector อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
ตัวอย่าง จานแม่เหล็กชนิดหนึ่งมี 100 cylinders เก็บข้อมูลได้ 512 bytes ใน 1 sector แต่ละ track มี 50 sectors แต่ละ cylinders ประกอบด้วย 20 tracks จะเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนเท่าไร อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
วิธีทำ ความจุ = จำนวน cylinder * จำนวน track * จำนวน sector * จำนวน bytes/sector = 100 x 20 x 50 x 512 bytes = 51,200,000 bytes = 50,000 KB = 48.8 MB อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา
ประเภทของจานแม่เหล็ก • จานแม่เหล็กแบบแข็ง (Solid Disk) • Cartridge disk 1 platter • Disk Pack > 1 platter (6-12 platters) บันทึกข้อมูลได้ 2 ด้าน ยกเว้นด้านบนและล่าง เช่น มี 10 แผ่น บันทึกได้ 18 ด้าน • จานแม่เหล็กแบบอ่อน (Flexible Disk, Floppy Disk) อ.ปรีชา วงค์หิรัญเดชา