1 / 24

หน่วยที่ 5. วงจร RLC อนุกรม วงจร RLC ขนาน วงจร RLC ผสม

หน่วยที่ 5. วงจร RLC อนุกรม วงจร RLC ขนาน วงจร RLC ผสม. วงจร RL อนุกรม. เมื่อนำ R และ L มาต่ออนุกรม และต่อเข้ากับแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าดังในรูป 5-1 จะเห็นได้ว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร และเกิดแรงดันตกคร่อม R และ L คือค่า VR และ VL.

elsa
Download Presentation

หน่วยที่ 5. วงจร RLC อนุกรม วงจร RLC ขนาน วงจร RLC ผสม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 5. วงจร RLC อนุกรมวงจร RLC ขนานวงจร RLC ผสม

  2. วงจร RL อนุกรม • เมื่อนำ R และ L มาต่ออนุกรม และต่อเข้ากับแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าดังในรูป 5-1 จะเห็นได้ว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร และเกิดแรงดันตกคร่อม R และ L คือค่า VR และ VL

  3. รูปคลื่นแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจร RL อนุกรม • โดยกระแสไฟฟ้าในวงจรจะไหลอินเฟสกับแรงดันไฟฟ้า VR แต่จะล้าหลังแรงดัน VL ไปเป็นมุม 90 องศา Vt VL Vt VL VR IT VR IT รูปเฟสเซอร์ไดอะแกรม แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจร RL อนุกรม รูปคลื่นแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจร RL อนุกรม

  4. เฟสเซอร์ไดอะแกรมของวงจร RL อนุกรม • จะเห็นไดว า เฟสเซอรของแรงดัน VR กับเฟสเซอรของกระแส I จะอินเฟสกัน และมีทิศทางชี้ไปทางขวา (0°) และเฟสเซอรของแรงดัน VL จะชี้ ไปในแกนตั้ง(90°) เพราะนําหนาแรงดัน VR และกระแส I ไปเปนมุม 90° สวนเฟสเซอรของแรงดัน VT ไดมาจากเฟสเซอรของแรงดัน VL บวกกับเฟสเซอรของแรงดัน VR ซึ่งจะไดความสัมพันธเฟสเซอรของแรงดันทั้งสามดังนี้คือ

  5. อิมพีแดนซของวงจร RL อนุกรม • การหาคาอิมพีแดนซของวงจร RL อนุกรม สามารถหาไดจากสมการความสัมพันธของแรงดันในสมการที่ (5-1) เมื่อนํากฎของโอหมมาใช จะได้ดังต่อไปนี้

  6. ที่มาของอิมพีแดนซไดอะแกรมที่มาของอิมพีแดนซไดอะแกรม

  7. มุมเฟสในวงจร RL อนุกรม • จากเฟสเซอรไดอะแกรมในรูปที่ (ก) และจากอิมพีแดนซไดอะแกรมในรูปที่ (ค) จะได • จากเฟสเซอรไดอะแกรมในรูปที่ 24-2 (ก) และจากอิมพีแดนซไดอะแกรมในรูปที่ 24-2 (ค) จะได

  8. แบบฝกหัดหลังการเรียนการสอนเพิ่มเติม หนวยที่ 5 สอนครั้งที่ 1เรื่อง วงจร RL อนุกรม 1

  9. วงจร RC อนุกรม • เมื่อนํา R และ C มาตอแบบอนุกรม และตอเขากับแหลงกําเนิดแรงดันไฟฟา E ดังแสดงในรูปที่5.4 (ก) จะเห็นวา จะทําใหเกิดกระแส I ไหลในวงจร และกระแส I ดังกลาวนี้ จะเปนตั วทํ าใหเกิดแรงดันตกครอมที่ R และ C คือ VR (IR) และ VC (IXC) ตามลําดับ โดยกระแส I ที่ไหลในวงจรจะอินเฟสกับแรงดัน VR และจะนําหนาแรงดัน VC ไปเปนมุม 90°

  10. ไดอะแกรมของรูปคลื่นของวงจร RC อนุกรม • ไดอะแกรมของรูปคลื่นของวงจร RC อนุกรม ดังในรูปที่ 5.4 (ข) จะเห็นวา รูปคลื่นของกระแสI จะอินเฟสกับรูปคลื่นของแรงดัน VR และจะนํ าหนารูปคลื่นของแรงดัน VC ไปเป นมุม 90° หรือ π/2rad นั่นคือ แรงดัน VC จะลาหลังกระแส I อยูเปนมุม 90° และจะลาหลังแรงดัน VR อยูเปนมุม 90°เชนเดียวกัน สวนรูปคลื่ นของแรงดัน VT ไดมาจากคาทุกๆ ขณะเวลาของรูปคลื่นของแรงดัน VR กับ VCรวมกัน

  11. เฟสเซอรไดอะแกรมของวงจร RL อนุกรม • เฟสเซอรไดอะแกรมดังในรูปที่ (ค) จะเห็นวา เฟสเซอรของแรงดัน VR จะอินเฟสกับกระแส I และมีทิศทางชี้ไปทางขวา (0°) และเฟสเซอรของแรงดัน VC จะชี้ลงเปนมุม -90° สวนเฟสเซอรของแรงดัน VT ไดมาจากผลรวมทางเฟสเซอรระหวางแรงดัน VR กับ VC ซึ่งจะไดสวนสัมพันธของเฟสเซอรของแรงดันทั้งสามดังนี้ คือ

  12. อิมพีแดนซของวงจร RC อนุกรม • การหาคาอิมพิแดนซ RC อนุกรม สวามารถหาได จากสมการความสัมพันธของแรงดัน [สมการที่(5-11)] เมื่อนํากฎของโอมหมาใช้ ซึ่งจะหาไดดังนี้คือ

  13. มุมเฟสของวงจร RL อนุกรม • จากเฟสเซอรและอิมพีแดนซไดอะแกรมที่รูปที่ 5.5 (ก) และ (ค) จะได้ ดังนั้นจะไดเพาเวอรแฟคเตอร ของวงจร RC อนุกรมเทากับ cos ∅ หรือเทากับ R/Z หรือเทากับVR/VT

  14. แบบฝกหัดหลังการเรียนการสอนเพิ่มเติม หนวยที่ 5 สอนครั้งที่ 2เรื่อง วงจร RC อนุกรม

  15. วงจร RLC อนุกรม • เมื่ อนํา R, L และ C มาตอกันแบบอนุ กรม และต อเขากับแหลงกําเนิดแรงดันไฟฟา E ดังในรูปที่ (ก) จะเห็นวา จะทําใหเกิดกระแส I ไหลในวงจร และกระแส I ดังกลาวนี้ จะเปนตัวทําใหเกิดแรงดันตกครอมขึ้นที่ R, L และ C คือ VR(IR), VL(IXL) และ VC(IXC) ตามลําดับ

  16. เห็นถึงเฟสเซอรไดอะแกรมของวงจร RLC อนุกรม เนื่องจากเฟสเซอร ของแรงดัน VL กับ VC ทิศทางตรงกันข าม ดังนั้นการหาคาแรงดันตกครอมที่L และ C รวมกันคือแรงดัน VX [ในรูปที่ 5.6 (ก)] จึงสามารถหาไดโดยการนํา VL กับ VC มารวมกันทางเฟสเซอรไดโดยตรงซึ่งจะเขียนเปนสมการไดดังนี้คือ

  17. เมื่อแรงดัน VL มากกวา VC [VL>VC] และการหาคาแรงดันตกครอมทั้งหมดของวงจรคือ VT สามารถหาไดโดยการนําคาแรงดัน VL, VCและ VR มารวมกันทางเฟสเซอร ซึ่งจะทําใหได VT นําหนากระแส I ที่ไหลในวงจรไปเปนมุม ∅ ในกรณีนี้มุม ∅ หมายถึงมุมเฟสของวงจร

  18. เมื่อแรงดัน VC มากกวา VL [VC>VL] และการหาคาแรงดันตกครอมทั้งหมดของวงจรคือ VT สามารถหาไดในลักษณะทํานองเดียวกันกับเมื่อวงจรมีคาแรงดัน VL มากกวา VC นั่นคือ VT มีคาเทากับ VL, VC และ VR รวมกันทางเฟสเซอรซึ่งทําให VT ทีไดลาหลังกระแส I ที่ไหลในวงจรอยูเปนมุม ∅ ในกรณีนี้มุม ∅ หมายถึงมุมเฟสของวงจร

  19. อิมพีแดนซของวงจร RLC อนุกรม • การหาคาอิมพีแดนซ ของวงจร RLC อนุกรม สามารถไดจากสมการความสัมพันธของแรงดันในกรณีที่ VL มีคามากกวา VCซึ่งจะหาไดดังนี้คือ

  20. อิมพีแดนซของวงจร RLC อนุกรม • การหาคาอิมพีแดนซ ของวงจร RLC อนุกรม สามารถไดจากสมการความสัมพันธของแรงดันในกรณีที่ VC มีคามากกวา VLซึ่งจะหาไดดังนี้คือ

  21. มุมเฟสของวงจร RLC อนุกรม • การหาค่ามุมเฟส ของวงจร RLC อนุกรม ในกรณีที่ VL มีคามากกวา VC หรือ VCมีคามากกวา VL สามารถหาได้จากสูตรดังต่อไปนี้

  22. แบบฝกหัดหลังการเรียนการสอนเพิ่มเติม หนวยที่ 5 สอนครั้งที่ 3เรื่อง วงจร RLC อนุกรม

More Related