1.8k likes | 3.32k Views
บทที่ 3 เทคนิคการเพิ่มผลผลิต. 3.1 การเพิ่มผลผลิตโดยกลุ่มคุณภาพ (QCC). ความหมายของคุณภาพและการควบคุม. “ คุณภาพ (Quality) หมายถึง คุณลักษณะและคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์และบริการที่ออกแบบและผลิต หรือบริการได้ตาม ข้อกําหนดต่างๆ(มาตรฐาน)อย่างเหมาะสมและตอบสนองความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้า ”.
E N D
บทที่ 3 เทคนิคการเพิ่มผลผลิต 3.1 การเพิ่มผลผลิตโดยกลุ่มคุณภาพ (QCC)
ความหมายของคุณภาพและการควบคุมความหมายของคุณภาพและการควบคุม “คุณภาพ(Quality) หมายถึง คุณลักษณะและคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์และบริการที่ออกแบบและผลิต หรือบริการได้ตาม ข้อกําหนดต่างๆ(มาตรฐาน)อย่างเหมาะสมและตอบสนองความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้า” “การควบคุม (Control) หมายถึง กิจกรรมต่างๆที่จําเป็นต้องมีเพื่อให้การทํางานสามารถที่จะบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด”
ความหมายของการควบคุมคุณภาพความหมายของการควบคุมคุณภาพ “การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) หมายถึง กิจกรรมการวางแผนเพื่อควบคุมบํารุงรักษาตรวจสอบและปฏิบัติการ แก้ไขปรับปรุงการทํางานในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์หรือบริการให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง” ผู้ผลิต สินค้า ลูกค้า คุณภาพ = ความพึงพอใจของลูกค้า รูปที่ 3.1 คุณภาพ
PRODUCT SPEC. PRODUCT CUSTOMER SPEC. แนวความคิดเรื่องคุณภาพ • แนวความคิดเดิม : คุณภาพคือระดับที่ผลิตได้ตามมาตรฐาน คุณภาพคือระดับความพึงพอใจหรือความเหมาะสมของผู้บริโภค • แนวความคิดใหม่ :
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับคุณภาพความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับคุณภาพ
คุณภาพสองชนิดที่ลูกค้าตัดสินใจซื้อคุณภาพสองชนิดที่ลูกค้าตัดสินใจซื้อ • คุณภาพที่พึงต้องมี (must be quality)หมายถึงคุณภาพที่ต้องมีอยู่อย่างครบถ้วนเป็นปกติถ้าหากไม่มีคุณภาพอย่างนี้ในสินค้าเมื่อใดแล้วลูกค้าจะไม่ซื้ออย่างแน่นอน • คุณภาพที่จูงใจซื้อ (attractive quality) หมายถึงคุณภาพที่โดยปกติจะไม่มีคุณภาพชนิดนี้อยู่ในตัวสินค้าแต่ถ้าหากมีก็จะจูงใจลูกค้าให้เกิดความสนใจที่จะซื้อขึ้นมาได้
ความหมายของกลุ่มคุณภาพความหมายของกลุ่มคุณภาพ “กลุ่มคุณภาพ (Quality Control Circle : QCC) คือ กลุ่มของพนักงานในสายงานเดียวกันที่รวมตัวกันอย่างอิสระ (3-10 คน) เพื่อทำกิจกรรมเสริมสร้างคุณภาพประสิทธิภาพควบคู่ไปกับงานประจำ โดยใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือประกอบการปฏิบัติการและตัดสินใจโดยไม่ขัดต่อนโยบายบริษัท”
ความจำเป็นที่ต้องมีการควบคุมคุณภาพความจำเป็นที่ต้องมีการควบคุมคุณภาพ • เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต • ลดปริมาณของเสีย • รักษามาตรฐานและผลิตภัณฑ์ • ตอบสนองความต้องการและความพอใจของลูกค้าทั้งด้าน คุณภาพและราคา • รักษาคุณภาพให้คงสภาพอยู่อย่างมั่นคง
วัตถุประสงค์ของการทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพวัตถุประสงค์ของการทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน • พัฒนาพนักงานให้รู้จักทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักแก้ปัญหาและปรับปรุงงานอย่างมีระบบ • ปลูกฝังความสำนึกในคุณภาพของงานและผลิตภัณฑ์ • ยกระดับมาตรฐานการทำงาน • สร้างบรรยากาศการทำงานให้มีชีวิตชีวา • ลดช่องว่างระหว่างพนักงานกับผู้บริหาร • รักษาชื่อเสียงด้านคุณภาพของบริษัท • ลดต้นทุนการผลิตในระยะยาว
ประโยชน์การทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพประโยชน์การทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • พนักงาน • มีส่วนร่วมในการทำงานและบริหาร • ยอมรับปัญหาและสามารถแก้ปัญหาได้ • ลดอุปสรรคในการทำงานด้านต่างๆ • พัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • สร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน
ประโยชน์การทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (ต่อ) • บริษัท • เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสินค้าใหม่สูงขึ้น • สามารถลดค่าใช้จ่ายต่างๆลงทำให้ต้นทุนการผลิตต่ำลง • ลดปริมาณสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานลง • เพิ่มคุณภาพและปริมาณของสินค้าให้สูงขึ้น • ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างพนักงานในทุกระดับ
สาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพสาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ตอบสนองความต้องการทํางาน ความ สำเร็จ ปรารถนา เกียรติยศ-ชื่อเสียง การมีส่วนร่วม ความมั่นคง - ปลอดภัย ปัจจัย 4 รูปที่ 3.2
สาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพสาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • สนองการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participation management) -เปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจประจำวัน -องค์การได้รับผลงานที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง ภายใต้ความพอใจของพนักงาน
สาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพสาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • เพื่อความอยู่รอดของบุคคลและองค์กร • ลดต้นทุนการผลิต • เพิ่มประสิทธิ • ภาพในการผลิต เทคโนโลยีใหม่ๆ คงสถานภาพ ของธุรกิจ รูปที่ 3.3
แนวคิดของการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพแนวคิดของการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ต้องมีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการตรวจสอบ วัด/เทียบกับมาตรฐานที่กําหนดไว้ • การควบคุณภาพบางอย่างไม่อาจใช้เครื่องมือวัด ดังนั้นอาจต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญตรวจทดสอบหรือทดลอง หรือต้องใช้เวลาพอสมควร • ควรมีการตั้งเกณฑ์คุณภาพไว้เป็นหลัก หากผลผลิตไม่ได้ใช้ไปตามเกณฑ์กําหนดก็ถือว่าขาดคุณภาพหรือขาดมาตรฐาน
แนวคิดของการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (ต่อ) • เครื่องมือในการตรวจสอบต้องมีความเที่ยงตรงอยู่เสมอ • ผู้บริหารต้องอธิบายให้ทุกคนเข้าใจถึงความสําคัญของการควบคุมคุณภาพให้ทุกกระบวนการผลิตได้มาตรฐาน
ระบบและวิธีการทํากลุ่มคุณภาพระบบและวิธีการทํากลุ่มคุณภาพ • ระบบกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ เป็นนระบบของการบริหารและการปฏิบัติงานที่มีเทคนิคและวิธีการบริหารที่นําไปสู่การปรับปรุงคุณภาพด้วยการทํางานเป็นทีม โดยทุกคนมีส่วน ร่วมด้านการปรับปรุงงาน โดยการสร้างสิ่งจูงใจให้มีการปฏิบัติงานด้วยความสมัครใจสอดคล้องกับนโยบาย และไม่ขัดกับระเบียบต่างๆขององค์การ
การเริ่มต้นโครงการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพการเริ่มต้นโครงการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ตัดสินใจเริ่มโครงการโดยผู้บริหารระดับสูง • สร้างความยอมรับและร่วมมือกับผู้บริหารระดับกลาง • กําหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ • กําหนดโครงสร้างQC ให้สอดคล้องกับแผนผังการบริหารงานองค์การ • วางแผนการสัมมนาและฝึกอบรม
การเริ่มต้นโครงการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ(ต่อ)การเริ่มต้นโครงการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ(ต่อ) • กําหนดหลักเกณฑ์และระเบียบการทําQCC • วางแผนการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ • วางแผนติดตามผลและประเมินผล • เริ่มโครงการทดลองขยายผลไปทั่วองค์การ
วิธีการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพวิธีการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ประกาศนโยบาย • จัดตั้งกลุ่มคุณภาพ • วางแผน • ดําเนินการ • แถลงผลงาน • ประกาศเกียรติคุณ • ประเมินผล • ร่วมกับภายนอกองค์การ
1.ประกาศนโยบาย นโยบายที่จะพัฒนาพนักงานทุกระดับตั้งแต่ระดับบริหารจนถึงระดับปฏิบัติการให้มีคุณภาพมากที่สุด และเปิด โอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการบริหารงานขององค์การโดยจะต้องมีการกําหนดคุณภาพไว้อย่างชัดเจน และคํานึงถึงขอบข่ายของตลาดผลิตภัณฑ์บริการ การผลิตหรือการเสนอขายลูกค้า
2. การจัดตั้งกลุ่มคุณภาพ • สมาชิกของกลุ่มมีได้ตั้งแต่ 3-15คน • สมาชิกควรมาจากหน่วยงานเดียวกันหรือมีลักษณะงานที่ คล้ายกัน • ควรเลือกหัวหน้ากลุ่มในระยะแรกไปเมื่อถึงสักระยะหนึ่ง ค่อยให้สมาชิกกลุ่มผลัดกันเป็น • ตั้งชื่อ จัดทําสัญลักษณ์และทําคำขวัญกลุ่ม • จดทะเบียนจัดตั้งกลุ่ม
3. วางแผน 1) การเลือกหัวข้อหรืองานที่จะปรับปรุง • เริ่มจากปัญหาง่ายที่เป็นปัญหาใกล้ตัว แล้วคิดว่าทําสำเร็จได้ง่าย เช่น ความพิดพลาดในงานพิมพ์การลดเวลาที่ลูกค้ารอให้ลดลง ฯลฯ • ต้องเป็นปัญหาที่สมาชิกทุกคนช่วยกันคิดและตัดสินใจเลือก
3. วางแผน รูปที่ 3.4 การเลือกหัวข้อเพื่อทำกิจกรรมคุณภาพ
3. วางแผน 2) วงจรเดมมิ่ง (Deming cycle) วงจรเดมมิ่ง คือ กระบวนการวางแผนและควบคุม การทํากิจกรรมควบคุมคุณภาพ(QCC) ซึ่งเป็นหลักการทํางานให้สําเร็จอย่างหนึ่ง รูปที่ 3.5 วงจรเดมมิ่ง
3. วางแผน P = Plan =การวางแผน D = Do =การปฏิบัติ C = Check =การตรวจสอบ A = Action =การจัดทำมาตรฐาน หรือปรับปรุงแก้ไข รูปที่ 3.6 ขั้นตอนการทำงานของหลักการเดมมิ่ง
3. วางแผน หลักการของเดมมิ่ง 1.ในการทํางานใดๆก็ตามอยากจะให้สําเร็จด้วยระยะเวลาอัน รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพก็ให้ทำตามPDCA 2.ถ้าทําตามวงจรPDCA ในครั้งแรกไม่สําเร็จ ก็ให้เริ่มทํา ตามวงจรPDCAใหม่ 3.และถ้ายังไม่สําเร็จอีก ให้เริ่มทําวงจรPDCAไปเรื่อยๆจน กว่าจะบรรลุตามเป้าหมาย
การนำวงจรเดมมิ่งมาใช้กับกลุ่มกิจกรรมคุณภาพมีขั้นตอนดังนี้การนำวงจรเดมมิ่งมาใช้กับกลุ่มกิจกรรมคุณภาพมีขั้นตอนดังนี้ • วางแผน • เลือกหัวข้อปัญหา • ตั้งเป้าหมาย • กําหนดการประชุม • มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ • กําหนดวิธีการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และวิธีการที่ จะใช้ รูปที่ 3.7 วงจรเดมมิ่ง
ปฏิบัติ • ดําเนินการประชุมสมาชิก • ค้นคว้าหาสาเหตุที่ต้องการหา • เก็บข้อมูล ศึกษาข้อเท็จจริงใน สาเหตุนั้นๆ • ทํางานตามที่ได้รับมอบหมาย • แกไขปัญหาตามที่พบสาเหตุ • หาทางปรับปรุงให้ได้ตามเป้าหมาย การตรวจสอบ • เก็บข้อมูลหลังการทํา • นําข้อมูลเปรียบเทียบ ก่อน-หลัง การแก้ไข • เปรียบเทียบผลที่ได้กับเป้าหมายที่วางไว้
การปรับปรุงแก้ไข • แก้ไขสิ่งบกพร่องให้ได้ผลดีตามเป้าหมายหรือดีกว่า • ปรับปรุงวิธีการทํางานให้ได้มาตรฐาน • ปรับปรุงมาตรฐานการทํางานเพื่อไม่ให้เกิดซ้ำอีก • ปรับปรุงอุปรณ์เครื่องมือทํางานให้มีประสิทธิภาพ • วางมาตรฐานการทํางานเพื่อไม่ให้ผิดพลาดเกิดปัญญหาอีก • ถ้าไม่บรรลุผลตามเป้าหมายให้พิจารณาวางแผนใหม่
4.การดําเนินงาน การดําเนินการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพให้ปรับแผนที่กําหนดไว้โดยต้องมีความสมดุลกันระหว่างการศึกษาค้นคว้าและการปฏิบัติ ที่สำคัญสมาชิกทุกคนจะต้องทําความเข้าใจวิธีการดำเนินกิจกรรมกลุ่มคุณภาพว่าจะต้องทําเป็นขั้นตอนและค่อยเป็นค่อยไป และจะต้องทํากิจกรรมโดยตนเองอย่างอิสระที่สุด
5.แถลงผลงาน หัวหน้ากลุ่มและสมาชิกอภิปลายผลงานที่กลุ่มได้ดําเนินการประสบความสําเร็จแล้วต่อหน้าที่ประชุมฝ่ายบริหารขององค์การ โดยมีอุปกรณ์และเอกสารประกอบ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับและเชื่อถือ
6. ประกาศเกียรติคุณ • ความเหมะสมกับเรื่องที่ทํา • การประยุกต์ใช้เทคนิคQC • ความคิดริเริ่มในการแก้ไข • การกําหนดมาตรฐาน • กระบวนวิธีการแถลงผลงาน
7. ประเมินผล • ในการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพจะต้องมีการประเมินผล หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมแล้ว เพื่อที่จะได้ตรวจสอบว่ากิจกรรมกล่มคุณภาพมีข้อดีข้อเสียอย่างไร จะได้แก้ไขปรับปรุงในการทํากิจกรรมครั้งต่อไป ให้สมาชิกกลุ่มและหัวหน้างานทําการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลต่างๆลงในเครื่องมือที่ออกแบบ ซึ่งโดยทั่วไปใช้กันอยู่ 2 ชนิด • ใบตรวจสอบคุณภาพ (QCC Check sheet) • แผนภูมิใยแมงมุม (Spider chart)
8. ร่วมกับภายนอกองค์การ • การพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อคิดเห็นกับ กลุ่มคุณภาพภายนอกองค์การอย่างเปิดใจ • มีแถลงผลงานกันภายในองค์การแล้วก็ให้พัฒนาสู่การ แถลงผลงานเผยแพร่ไปภายนอกองค์การ
ขั้นตอนการดําเนินการ กิจกรรมกลุ่ม คุณภาพ รูปที่ 3.8 แผนผังแสดง ขั้นตอนการจัดทำ QCC
1. ค้นหาปัญหาโดยการเก็บข้อมูล • การเก็บข้อมูลกระทําได้โดย • ตรวจสอบสภาพปัจจุบัน • เปรียบเทียบมาตรฐานในการ ทํางานกับวิธีที่ทําอยู่จริง • แยกแยะข้อมูลและค้นหาจุดที่ เป็นปัญหา • รวบรวมข้อมูลของปัญหา รูปที่ 3.9 การเก็บข้อมูล
2. กําหนดเป้าหมาย • หลักในการกําหนดเป้าหมาย • พิจารณาปัญหาให้มากที่สุด • พิจารณาปัญหาของกลุ่มให้สอดคล้องกัน • พิจารณากําลังความสามารถในการแก้ปัญหา รูปที่ 3.10 การกำหนดเป้าหมาย
2. กําหนดเป้าหมาย รูปที่ 3.11 ใช้พาเรโตช่วยให้บรรลุเป้าหมาย
3. ค้นหาสาเหตุ นําปัญหาหลักที่ได้จากการวิเคราะห์มาค้นหาสาเหตุโดยใช้เทคนิคและเครื่องมือต่างๆมาช่วย เช่น แผนภูมิเหตุและผล(แผนภูมิก้างปลา) • การพิจารณาเพื่อค้นหาสาเหตุ • เลือกเอาสาเหตุที่สําคัญมา วิเคราะห์อย่างละเอียด • ใช้หลัก 4M (man,Machine,Material.Methid) • ใช้หลัก 5W1H รูปที่ 3.12 ค้นหาสาเหตุ
3. คนหาสาเหตุ การใช้เทคนิคตั้งคำถาม 5W 1H เพื่อช่วยแก้ปัญหาการทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพของสมาชิกกลุ่มที่ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ไม่ค่อยมีความคิดสร้างสรรค์ รูปที่ 3.13 เทคนิคการตั้งคำถาม
4. การวางแผนแก้ไข นำสาเหตุต่างๆที่วิเคราะห์จากแผนภูมิก้างปลามาวางแผนเพื่อทำการแก้ไขโดยลำดับความสำคัญของสาเหตุ • ข้อควรพิจารณาในการจัดทำแผนดำเนินการแก้ไข • ทำอะไร • ใครทำ • เสร็จเมื่อไหร่ • ทำอย่างไร • งบประมาณเท่าไหร่
5. การดำเนินการแก้ไข • แนวทางปฎิบัติ • แนะนำให้สมาชิกรู้จักวิธีการใหม่ๆ แต่บางปัญหาต้องทำไปพร้อมๆกับวิธีเดิมก่อน • ในระหว่างการดำเนินงานให้เก็บข้อมูลทั้งในเรื่องงานและพฤติกรรมของสมาชิกไว้ในกลุ่มเป็นระยะ • รายงานผลงานที่ทำให้ได้ตามความเป็นจริง
6. ตรวจสอบผลที่ได้รับ 6.1 กระบวนการตรวจสอบผลดำเนินงาน • ทำการติดตามกิจกรรมประจำวัน • สรุปผลประจำสัปดาห์หรือเป็นรายเดือน • เก็บรวบรวมข้อมูลหลังการแก้ไขปรับปรุงมาเปรียบเทียบกับเป้าหมาย • ถ้าได้ผลตามเป้าหมายให้ทำมาตรฐานไว้
6. ตรวจสอบผลที่ได้รับ 6.2 ถ้าการแก้ไขไม่ผลตามเป้าหมายให้ดำเนินการใหม่ โดยสามารถทำได้โดย 2กรณี • แก้ไขปรับปรุงแผนงานที่กำหนดไว้อีกเล็กน้อย แล้วดำเนินการแก้ไข • พิจารณาวางแผนใหม่ทั้งหมดตั้งแต่ต้นหรือพิจารณาจัดหาเพียงขั้นต้นหรือพิจารณาขั้นตอนใดตอนหนึ่ง
7. กำหนดมาตรฐาน มาตรฐานที่ดี • กำหนดวิธีการแก้ไขที่ได้ปฏิบัติและเห็นผลชัดเจนในช่วงทำกิจกรรมกลุ่มในช่วงคุณภาพมาแล้ว • อ่านแล้วเข้าใจและปฏิบัติได้ง่าย • สามารถเปลี่ยนแปลงในกรณีที่จำเป็น รูปที่ 3.14 กำหนดมาตรฐาน
กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (QCC)ที่ควรพิจารณาต่อไป • สาเหตุที่แก้ไขได้ แต่ยังไม่ได้แก้ไขในครั้งนี้ • ปัญหาอื่นที่ยังไม่ได้แก้ไข • ปัญหาเดิมที่ทำกิจกรรมกลุ่มเสร็จแล้ว แต่ผลยังไม่พอใจ รูปที่ 3.15 เตรียมจัดทำเรื่องต่อไป
ขั้นตอนการทำกิจกรรมกลุ่ม QCC และการใช้เทคนิคคุณภาพ
ความหมายและองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีมความหมายและองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีม 1. เทคนิคการทำงานเป็นทีม (Team Work) เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลเพื่อทำงานก่อให้เกิด ประโยชน์แก่กลุ่มมากกว่าการทำงานคนเดียว การรวมตัวกันนี้อาจเป็นการรวมตัวแบบมีแผน หรือไม่มีแผนก็ได้แต่จะมีจุดมุ่ง หมายไปในทางเดียวกัน
ความหมายและองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีมความหมายและองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีม • องค์ประกอบที่ประกอบข้อด้วยกันเพื่อให้เกิดการทำงานเป็นทีม • วัตถุประสงค์ • กิจกรรม • วิธีการทำงาน • หน้าที่และการรับผิดชอบ • ระเบียบวินัยและการควบคุม • ความเข้าใจซึ่งกันและกัน