260 likes | 410 Views
การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน. เอกสารอ้างอิง. Thailand’s Experience in Oil Price Deregulation , Dr. Piyasvasti Amranand, October 2002 การกำหนดราคาน้ำมันเชื้อเพลิงของไทย , สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ 11 มิถุนายน 2544 ใน http://www.eppo.go.th/petro/ThaiOilPrices.html. เอกสารอ้างอิง.
E N D
การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน
เอกสารอ้างอิง • Thailand’s Experience in Oil Price Deregulation, Dr. Piyasvasti Amranand, October 2002 • การกำหนดราคาน้ำมันเชื้อเพลิงของไทย, สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ 11 มิถุนายน 2544 ใน http://www.eppo.go.th/petro/ThaiOilPrices.html
เอกสารอ้างอิง • “Energy Pricing”ใน ยุทธศาสตร์พลังงานของประเทศไทย: ทางเลือกการจัดหาพลังงาน (Fuel Options)เมษายน 2549 หน้า 179-194 • Coping with Higher Oil Prices, Robert Bacon and Masami Kojima, Energy Sector Management Assistance Programme, World Bank, June 2006 3
เค้าโครงการบรรยาย ขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมัน องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน 4
เค้าโครงการบรรยาย นโยบายราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันในประเทศกำลังพัฒนาในช่วงราคาน้ำมันโลกแพง หลักเกณฑ์การกำหนดภาษีผลิตภัณฑ์น้ำมัน 5
ขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมันขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมัน • กรณีของไทย คล้ายกันกับประเทศนำเข้าน้ำมันอื่นๆ • นำเข้า “น้ำมันดิบ” มากลั่นในประเทศเป็น “ผลิตภัณฑ์น้ำมัน” (เบนซิน ดีเซล เครื่องบิน ก๊าด เตา และ LPG) • ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (หรือก๊าซหุงต้ม) ผลิตได้จากทั้งโรงกลั่นน้ำมัน (คือจากน้ำมันดิบ) และโรงแยกก๊าซ (คือจากก๊าซธรรมชาติ)
ขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมันขั้นตอนการแปรรูปและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์น้ำมัน • มีการนำเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์น้ำมันด้วย • มีทั้งขายส่งให้ผู้ใช้น้ำมันรายใหญ่ และขายปลีกให้ผู้ใช้น้ำมันรายย่อย (ส่วนใหญ่ผ่านปั๊ม)
ขั้นตอนการแปรรูปและจำหน่ายน้ำมันขั้นตอนการแปรรูปและจำหน่ายน้ำมัน ต่างประเทศ (ส่วนใหญ่ จากตะวันออกกลาง) สิงคโปร์และอื่นๆ นำเข้าน้ำมันดิบ โรงกลั่นน้ำมันในประเทศ เช่น ไทยออยล์ บางจาก นำเข้า / ส่งออก ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เบนซิน ดีเซล ขายส่ง ผู้ค้าน้ำมัน เช่น ปตท. เชลล์ สถานีบริการน้ำมัน ผู้ใช้น้ำมันรายใหญ่ ขายปลีก ผู้ใช้น้ำมันรายย่อย
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • ราคา ณ โรงกลั่น (ex-refinery price) = ต้นทุนน้ำมันดิบ + ค่าการกลั่น (gross refining margin)
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • สมมุติไม่มีการแทรกแซงโดยรัฐบาล ราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน (retail price) = ราคา ณ โรงกลั่น + ค่าขนส่ง + ค่าการตลาด (marketing margin ทั้งของบริษัท น้ำมันและสถานีบริการ)
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • การแทรกแซงโดยรัฐบาล เก็บ “ภาษี” และ “เงินกองทุน” • ภาษี 3 ประเภท: • ภาษีสรรพสามิต (กลั่นในประเทศ) หรือ ภาษีขาเข้า (นำเข้า) เป็นอัตราคงที่ บาทต่อลิตร • ภาษีเทศบาล อัตรา 10% ของ 1.
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • การแทรกแซงโดยรัฐบาล เก็บ “ภาษี” และ “เงินกองทุน” • ภาษี 3 ประเภท: • ภาษีมูลค่าเพิ่ม อัตรา 7% ของมูลค่าซื้อขาย
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • เงินกองทุน 2 ประเภท: • “กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง” เพื่อ • ลดความผันผวนของราคาขายปลีก โดยเก็บเข้ากองทุนเมื่อราคาโลกต่ำ และชดเชยเมื่อราคาโลกสูง • อุดหนุนข้ามผลิตภัณฑ์ เก็บจากเบนซิน ไปชดเชยผู้ใช้ดีเซล
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • เงินกองทุน 2 ประเภท: • “กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน” เพื่อส่งเสริมการประหยัดพลังงาน และพลังงานทดแทน
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • องค์ประกอบของราคาขายปลีก: ราคา ณ โรงกลั่น + ภาษีต่างๆ + เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง + เงินกองทุนอนุรักษ์พลังงาน + ค่าการตลาด
โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551(simplified) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท) หน่วย : บาทต่อลิตร
โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551 (simplified) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท) หน่วย : ร้อยละ
โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551 (detailed1) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท) หน่วย : บาทต่อลิตร
โครงสร้างราคาน้ำมันในกรุงเทพฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551 (detailed2) (อ้างอิงราคาขายปลีกน้ำมัน บริษัท ปตท) หน่วย : บาทต่อลิตร
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ข้อสังเกต: • ในช่วงที่ราคาโลกสูงมาก รัฐบาลจ่ายเงินกองทุนชดเชยช่วยผู้ใช้ดีเซล (ใช้ขนส่งสินค้า และผู้โดยสาร) • เก็บจากผู้ใช้เบนซินเข้ากองทุน (ฐานะดี มีรถเก๋ง) • ส่งเสริมแก๊สโซฮอล โดยเก็บเข้ากองทุนน้อย
องค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันองค์ประกอบและโครงสร้างของราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ข้อสังเกต: • เงินกองทุนชดเชยก๊าซหุงต้มที่นำเข้าตั้งแต่ พ.ค. 2551 (ไม่ปรากฏในตาราง) • ราคานำเข้าสูงกว่าราคาหน้าโรงกลั่น • ราคานำเข้า 15 - 30 บาทต่อ กก. • ราคา ณ โรงกลั่นเพียง 11 บาทต่อ กก.
โรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทยโรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทย
ESSO (145 kbpd) TOP (275 kbpd) (PTT 49.54%) RPC (17 kbpd) BCP (120 kbpd) (PTT 29.75%) IRPC (215 kbpd) (PTT 31.50%) SPRC (150 kbpd) (PTT 36.00%) PTTAR (215 kbpd) (PTT 48.66%) โรงกลั่นน้ำมันในประเทศไทย ปตท. ถือหุ้นใน 5 แห่ง คิดเป็น 35% ของกำลังการกลั่นรวม กำลังการกลั่นรวม ~ 1,137 kbpd • PTT accounts for 35% by equity portion • TOP/SPRC/PTTAR – complex refineries with potential expansion • BCP is undertaking “Product Quality Improvement” project to enhance product mix Note : Data as of 31 Dec 2007
กำลังการผลิตแยกตามสัดส่วนของผลิตภัณฑ์กำลังการผลิตแยกตามสัดส่วนของผลิตภัณฑ์
สัดส่วนการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปของโรงกลั่นสัดส่วนการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปของโรงกลั่น 5% LPG (ก๊าซหุงต้ม) 22% ULG (เบนซิน) Kerosene (น้ำมันอากาศยาน) 11% CDU 38% Gasoil (ดีเซล) Crude Oil (น้ำมันดิบ) Fuel Oil (น้ำมันเตา) 21% Fuel/ Loss (เชื้อเพลิง/ สูญเสีย) 3% ที่มา : สภาอุตสาหกรรม
ความต้องการใช้เทียบกับการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปความต้องการใช้เทียบกับการผลิตน้ำมันสำเร็จรูป KBD IRPC Upgrade PTTAR Expansion Thailand Refining Capacity TOP (CDU 3 Debot) 997 960 922 887 848 851 796 Alternative Fuels 769 730 738 724 736 732 JET/IK LPG Demand Growth2013-2016 = 4% FO Demand Growth2008-2012 = 4% Gasoline Demand Growth2004-2007 = 0% Diesel แผนการขยายกำลังการผลิตในอนาคต สามารถรองรับความต้องการใช้น้ำมันได้นานกว่าปี 2016