380 likes | 961 Views
การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร สายสนับสนุนในหน่วยบริการ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แยกเป็น 3 กลุ่ม. 1. กลุ่มภารกิจอำนวยการ. 2. กลุ่มสนับสนุนบริการ. 3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา. การวิเคราะห์อัตรากำลัง กลุ่มภารกิจอำนวยการ. การวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการ.
E N D
การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร สายสนับสนุนในหน่วยบริการ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แยกเป็น 3 กลุ่ม 1. กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. กลุ่มสนับสนุนบริการ 3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา
การวิเคราะห์อัตรากำลังการวิเคราะห์อัตรากำลัง กลุ่มภารกิจอำนวยการ
การวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการการวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการ 1.ฝ่ายบริหารทั่วไป รวม ห้องสมุด สารบรรณ เลขา นิติกร รปภ. ปชส.ซักฟอก ยานพาหนะ ขยะ บำบัดน้ำเสีย รักษาศพฯ ไม่รวม ทำความสะอาด และ งานสวน 2.ฝ่ายการเงินและบัญชี รวมจัดเก็บรายได้ในหอผู้ป่วย 3.ฝ่ายพัสดุและซ่อมบำรุงรักษา 4.ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ 5.ฝ่ายแผนงานและศูนย์คอมพิวเตอร์
FTE : Full Time Equivalent “จำนวนพนักงานปฏิบัติงานเต็มเวลาเมื่อเทียบกับเวลามาตรฐานการทำงาน” • เวลามาตรฐาน กำหนดให้ทำงาน 7 ชั่วโมงต่อวัน จำนวน 240 วันต่อปี(หักวันหยุด) ดังนั้น 1FTE มีค่าเท่ากับ 1,680 ชั่วโมงต่อปี • การคำนวณ FTEคำนวณจากภาระงาน (Workload) หารด้วย เวลามาตรฐาน การทำงาน
ภาระงาน (workload) ภาระงาน : ปริมาณงาน เช่น บริการผู้ป่วยนอก มีหน่วยนับเป็นครั้ง (Case Visit) คูณด้วยเวลาที่ใช้ ในการให้บริการแต่ละครั้ง เช่นพยาบาลใช้เวลาดูแลผู้ป่วยนอก 12 นาทีต่อครั้ง (0.2 ชั่วโมง) มีปริมาณงานผู้ป่วยนอก จำนวน 57,000 ครั้งต่อปี ดังนั้น ภาระงาน มีค่าเท่ากับ 57,000 x0.2 =11,400 ชั่วโมงต่อปี
FTE : Full Time Equivalent เช่นตามตัวอย่างภาระงานของพยาบาล 11,400 ชั่วโมงต่อปี ดังนั้น พยาบาลจะมี FTE เท่ากับ 11,400/1,680=6.78FTE กรอบอัตรากำลัง = 80 % ของ FTE
วิธีการวิเคราะห์อัตรากำลังแบบ FTE • หลักการ ปริมาณงานต่อปี X ค่ากลาง(นาที/งาน) (เวลาทำงาน 240 วัน x 7ชั่วโมง x 60นาที) • ค่ากลางของเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมหนึ่งๆ กำหนดโดยคณะทำงาน ใช้เหมือนกันทุกขนาด รพ. เนื่องจากลักษณะงาน ใช้ระเบียบร่วมกัน ได้แก่ ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยการพัสดุ ระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน ฯลฯ
วิธีวิเคราะห์ FTE กลุ่มภารกิจอำนวยการ 1. ตามปริมาณงาน ได้แก่ • งานบริหารทั่วไป เช่น สารบรรณ ปชส. เลขาฯ • งานนิติกร • งานเจ้าหน้าที่ • งานการเงินและบัญชี • งานพัสดุ • งานซ่อมบำรุง • งานแผนและศูนย์คอมพิวเตอร์
วิธีวิเคราะห์ FTE กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. ตามลักษณะงานเฉพาะ • รักษาความปลอดภัย (FTE /จุดตรวจหลักต่อเวร) • งานซักฟอก • (FTE / เตียง) FTE • งานจัดเก็บขยะ • ติดเชื้อ • (FTE / น้ำหนักขยะ) • งานจัดเก็บขยะทั่วไป (FTE / จุดพักขยะ)
ผลการวิเคราะห์ กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ
กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการกรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน
กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการกรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน
A/a S/M/F
กลุ่มสนับสนุนบริการ ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา
กำลังคนในกลุ่มนี้ประกอบด้วยกำลังคนในกลุ่มนี้ประกอบด้วย * ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา * กำลังคนสนับสนุนบริการได้แก่บุคลากรที่ทำงาน สนับสนุนกลุ่มวิชาชีพในการให้บริการโดยตรง
วิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาวิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา ใช้มาตรฐานของ สบ พช แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม S M L • ขนาดใหญ่ • ดูแลนักศึกษา • 120-180 คน • ขนาดเล็ก • ดูแลนักศึกษา • 36-87 คน • ขนาดกลาง • ดูแลนักศึกษา • 90-117 คน วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของบุคลากรแต่ละระดับ L S M ขนาดใหญ่ 50 คน กรอบ = 40 ขนาดเล็ก 20 คน กรอบ = 16 ขนาดกลาง 30 คน กรอบ = 24
วิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:กลุ่มสนับสนุนบริการวิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:กลุ่มสนับสนุนบริการ จัดกลุ่มสนับสนุนบริการจำนวน 42 สายงาน กับวิชาชีพหลัก 11 วิชาชีพ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม • กลุ่ม 1จำนวนวิชาชีพมากกว่ากลุ่มสนับสนุน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร เทคนิคการแพทย์ ทันตแพทย์ นวก สาธารณสุข นักรังสีเทคนิค นักกายภาพบำบัด จพ. เวชสถิติ • กลุ่ม 2 จำนวนวิชาชีพน้อยกว่ากลุ่ม • สนับสนุน ได้แก่ • นักโภชนาการ นักกายอุปกรณ์ • แพทย์แผนไทย - วิเคราะห์สัดส่วนของวิชาชีพและบุคลากรสนับสนุนในแต่ละระดับสถานบริการ โดยใช้เวทีผู้ทรงคุณวุฒิ - วิเคราะห์กรอบของบุคลากรแต่ละระดับ
กลุ่ม 1 กำลังคนสนับสนุนบริการ รพ ระดับ A
กลุ่ม 2 คิดสัดส่วนต่อวิชาชีพ
ผลการวิเคราะห์อัตรากำลังผลการวิเคราะห์อัตรากำลัง
40 % ของบุคลากรสายวิชาชีพ