1 / 24

การประชุมชี้แจงและซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยระบบ EPP+

การประชุมชี้แจงและซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยระบบ EPP+. รายละเอียดการชี้แจง. 1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555. 2. รับ username และ password ระดับ admin สำนัก/กอง/กลุ่ม ในระบบ EPP+.

elvis-yates
Download Presentation

การประชุมชี้แจงและซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยระบบ EPP+

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจงและซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยระบบ EPP+

  2. รายละเอียดการชี้แจง 1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555 2. รับ username และ password ระดับ admin สำนัก/กอง/กลุ่ม ในระบบ EPP+ 3. เตรียมความพร้อมให้กับ admin ระดับสำนัก/กอง/กลุ่ม สำหรับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ด้วยระบบ EPP+

  3. หน้าที่ของ admin ระดับ สำนัก/กอง/กลุ่ม - ตรวจสอบรายชื่อข้าราชการที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการที่ต้องรับผิดชอบ - กำหนดตัวผู้ประเมิน และผู้ถูกประเมิน - รวบรวม บันทึก และแก้ไขปรับปรุงตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPI) - ตรวจสอบงบประมาณที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน - ควบคุมการประเมินผลการปฏิบัติงาน ในระบบ EPP+ ให้อยู่ในระยะเวลาที่กำหนด

  4. การประเมินผลการปฏิบัติงาน EPP+ เป็นการประเมินออนไลน์ ผ่านเว็บบราวเซอร์ โดยขอให้ใช้ สามารถดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ สบค. ไม่ควรใช้ IE ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน EPP+

  5. เข้าสู่ระบบ EPP+ โดยการใส่ username และ password ที่ http://epp.rid.go.th

  6. ตรวจสอบรายชื่อบุคลากรในสังกัดตรวจสอบรายชื่อบุคลากรในสังกัด ที่เมนู ข้อมูลบุคลากร เลือกรายชื่อบุคลากร

  7. เลือกหน่วยงานที่ต้องการตรวจสอบรายชื่อเลือกหน่วยงานที่ต้องการตรวจสอบรายชื่อ

  8. คืนค่ารหัสผ่าน ย้ายไปยัง สำนัก/ส่วน/ฝ่าย/กลุ่มอื่น ระงับการเข้าใช้งานระบบ EPP+ ล้างข้อมูลการประเมิน (หากประเมินผิดพลาด)

  9. การกำหนดผู้ประเมิน ให้กับข้าราชการในสังกัด

  10. เลือกหน่วยงานที่ต้องการกำหนดผู้ประเมินเลือกหน่วยงานที่ต้องการกำหนดผู้ประเมิน คลิกที่ไอคอนหลังชื่อบุคคลเพื่อกำหนดให้เป็นผู้ประเมินในสังกัดนั้น

  11. การบันทึกข้อมูลตัวชี้วัด KPI คลิกที่ข้อมูลการประเมิน เลือกรายการตัวชี้วัด

  12. คลิกที่ปุ่มเพิ่มตัวชี้วัดคลิกที่ปุ่มเพิ่มตัวชี้วัด

  13. ช่องรหัส ควรกำหนดรหัสให้มีความสอดคล้องกับหน่วยงาน เช่น สบค-ปท-001 สบค= สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล ทป= ฝ่ายทะเบียนประวัติฯ 001 = ตัวชี้วัดลำดับที่ 1

  14. เลือกหน่วยงานที่ใช้ตัวชี้วัดที่กำลังดำเนินการบันทึกข้อมูลเลือกหน่วยงานที่ใช้ตัวชี้วัดที่กำลังดำเนินการบันทึกข้อมูล (การกำหนดจะช่วยให้ส่วน/ฝ่าย/กลุ่ม อื่นเห็นตัวชี้วัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับสังกัดตนเอง)

  15. พิมพ์ข้อความตัวชี้วัดลงในช่องตัวชี้วัดพิมพ์ข้อความตัวชี้วัดลงในช่องตัวชี้วัด (หากมีการพิมพ์ไว้ในไฟล์ word หรือ Excel สามารถคัดลอกแล้วนำมาวางในช่องได้)

  16. ลักษณะงานมีอยู่ 3 แบบ คือ 1. กลยุทธ์ คือ งานที่สนับสนุนตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตามยุทธ์ศาสตร์กรม/คำรับรองการปฏิบัติราชการ (กรม สำนัก กอง) 2. ประจำ คือ งานตามบทบาทหน้าที่ของตำแหน่งงาน 3. พิเศษ คือ งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ (เลือกตามแบบฟอร์มของ ชป.135/1)

  17. เลือกประเภทของตัวชี้วัดเลือกประเภทของตัวชี้วัด 1. รายเดือน สำหรับการติดตามตัวชี้วัดที่กำหนดค่าเป้าหมายไว้เป็นรายเดือน (ทุกๆ เดือนผู้ปฏิบัติงานต้องเข้ามายืนยันการดำเนินการนั้นทุกเดือน) 2. คำอธิบาย สำหรับตัวชี้วัดที่กำหนดค่าเป้าหมายไว้เป็นคำอธิบายโดยแบ่งเป็น 5 ระดับ (ผู้ปฏิบัติงานเข้ามายืนยันเป้าหมายเมื่อถึงรอบการประเมิน)

  18. การเลือกติดตามตัวชี้วัดแบบรายเดือนการเลือกติดตามตัวชี้วัดแบบรายเดือน

  19. การเลือกติดตามตัวชี้วัดแบบรายเดือนการเลือกติดตามตัวชี้วัดแบบรายเดือน

  20. การเลือกติดตามตัวชี้วัดแบบคำอธิบายการเลือกติดตามตัวชี้วัดแบบคำอธิบาย

  21. เพื่อให้สะดวกในการกรอกข้อมูลตัวชี้วัด KPI ขอให้ทุกหน่วยงานดูแบบฟอร์ม ชป.135/1 โดยสามารถรวบรวม และนำมากรอกข้อมูลได้ หรือหากมีการเปลี่ยนแปลง/ยกเลิก admin สำนัก/กอง/กลุ่ม สามารถแก้ไขได้ทันที เมือพิมพ์และตรวจทานแล้วสามารถบันทึกได้โดยการกดที่ปุ่ม บันทึก

  22. เมื่อบันทึกแล้วจะมีรายงานตัวชี้วัดปรากฏขึ้นมาเมื่อบันทึกแล้วจะมีรายงานตัวชี้วัดปรากฏขึ้นมา คลิกที่ไอคอนเพื่อดำเนินการแก้ไขรายการตัวชี้วัด คลิกที่ไอคอนเพื่อลบตัวชี้วัดออกจากระบบ

  23. การเปลี่ยนรหัสผ่านสามารถทำได้โดยการคลิกที่เมนู เปลี่ยนรหัสผ่าน ระบบจะแสดงกรอบข้อความขึ้นมารให้พิมพ์รหัสผ่านเดิน และพิมพ์รหัสผ่านใหม่ จากนั้นกดที่ปุ่มเปลี่ยน ระบบจะแจ้งให้ทราบว่าดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

  24. Admin สำนักตรวจสอบข้อมูลรายชื่อข้าราชการในสังกัด/กำหนดผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ และบันทึกตัวชี้วัด KPI ทั้งสำนัก/กอง ข้าราชการทุกคน เข้าระบบดำเนินการเลือกตัวชี้วัด KPI เมื่อถึงรอบการประเมินดำเนินการประเมินสมรรถนะตนเอง และเลือกระดับความสำเร็จของตัวชี้วัด KPI รอผลยืนยันจากผู้ประเมิน ขั้นตอนการดำเนินการภาพรวม ผู้ประเมิน เข้าระบบและดำเนินการยืนยันผลการประเมินของผู้ใต้บังคับบัญชา ข้าราชการทุกคนพิมพ์ผลการประเมินในหัวข้อรายงานในระบบ EPP+

More Related