160 likes | 507 Views
การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก [ การแก้ไขปัญหา LBW ]. [ อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร ] 10 พ.ค.53. สรุปข้อมูล ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย. อัตราการคลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยตั้งแต่ปี 2550 ถึง มี.ค.53 ทบทวน สรุปข้อมูลจากรายงาน ก.2. 9.9 %. ร้อยละ. 8.7 %. 6.2 %. 5.6 %. ปีงบประมาณ. 2550.
E N D
การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก [การแก้ไขปัญหา LBW] [อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร] 10 พ.ค.53
สรุปข้อมูลทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยสรุปข้อมูลทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย • อัตราการคลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยตั้งแต่ปี 2550 ถึง มี.ค.53 • ทบทวนสรุปข้อมูลจากรายงาน ก.2 9.9 % ร้อยละ 8.7 % 6.2 % 5.6 % ปีงบประมาณ 2550 2551 2552 2553
ศึกษาปัจจัยที่อาจมีผลต่อ LBW • คลอดทั้งหมด 433 คน • ปี 2552 คลอด 273 คน • ปี 2553 คลอด 160 คน • กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา162 คน • ปี 2552 คลอด 101 คน • ปี 2553 คลอด 61 คน • LBW ที่ศึกษา 52 คน • ปี 2552 คลอด 50 คน • ปี 2553 คลอด 2 คน
ปัจจัยที่ศึกษา • ข้อมูลทั่วไปของมารดา: อายุ น้ำหนัก ส่วนสูง BMI โรคประจำตัว ลำดับครรภ์ ประวัติการคลอด • ข้อมูลด้านสังคม: ระดับการศึกษา อาชีพ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ระยะทางจากบ้านถึงหน่วยบริการ การตั้งครรภ์ที่พึง/ไม่พึงประสงค์ • ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ: อาชีพ รายได้ต่อเดือน • ข้อมูลพฤติกรรม: การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การดื่มกาแฟ การบริโภคไข่ การดื่มนม การดื่มน้ำอัดลม การนอนหลับพักผ่อน การนอนกลางวัน การกินยา
ปัจจัยที่ศึกษา • ข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ปัจจุบัน: ลำดับการตั้งครรภ์ จำนวนครั้งการคลอด การแท้ง จำนวนบุตรมีชีวิต อายุบุตรคนสุดท้าย ประวัติLBW/ Preterm ประวัติการผ่าคลอด DFIU IUGR เลือดออกผิดปกติระหว่างคลอด Hct. การฝากครรภ์คุณภาพ น้ำหนักที่ขึ้นระหว่างท้อง GAเมื่อคลอด ระยะห่างของการมีบุตร • ข้อมูลทั่วไปของทารกที่คลอด : เพศ APGAR รูปแบบการคลอด ความพิการแต่กำเนิด น้ำหนักเด็ก ลักษณะรก น้ำหนักรก
ปัจจัยที่พบว่าน่าจะมีผลต่อการคลอด LBW • พฤติกรรมการดูแลตนเองของมารดาที่คลอด LBWขณะตั้งครรภ์ • ร้อยละ 19.2 สูบบุหรี่หรือได้รับควันบุหรี่จากคนรอบข้าง • ร้อยละ 46.2 นอนพักผ่อน < 8 ชั่วโมง • ร้อยละ 32.7 ไม่ได้นอนพักกลางวัน • ระดับความเข้มข้นของเลือดขณะตั้งครรภ์ • ร้อยละ 7.7 มี Hct. < 30 mg.% • ร้อยละ 67.3 มี Hct. < 35 mg.% • การคลอดก่อนกำหนด ( GA < 37 สัปดาห์ ) • ร้อยละ 11.5 คลอดก่อน 37 สัปดาห์
ปัจจัยที่พบว่าน่าจะมีผลต่อการลด LBW • พฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ • ร้อยละ 84.6 บริโภคไข่มากกว่า 3 ฟองต่อสัปดาห์ • ร้อยละ 26.9 ดื่มนมทุกวัน • ร้อยละ 86.5 กินยาสม่ำเสมอ • ข้อมูลด้านสังคม • ร้อยละ 92.3 อยู่ร่วมกันกับสามี • ร้อยละ 76.9 มีระยะทางจากบ้านถึงสถานบริการน้อยกว่า 5 กม. • ร้อยละ 40.4 มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 2000 -5000 บาท
การดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา LBW • ดำเนินการโดย MCH board และทีม PCT รพ.โพนนาแก้ว • ปรับแนวทางให้ยา • FBC , MTV • พบแพทย์ 1 ครั้ง • ติดตามเด็ก 1 ปี • ปรับปรุง CPG • FBC,MTV, Folic • พบแพทย์ 1 ครั้ง • ติดตามเด็ก 1 ปี • รร. พ่อ-แม่ • ปรับปรุง CPG • FBCplus, Folic • พบแพทย์ 2 ครั้ง • เฝ้าระวัง SGA • รร.พ่อ-แม่ เข้มข้น • จัดกลุ่ม PL • ศึกษา LBW • FBCplus, Ca • พบแพทย์ 2 ครั้ง • เฝ้าระวัง SGA • รร.พ่อ-แม่ เข้มข้น • จัดกลุ่ม PL 2550 2551 2552 2553
CPG กลยุทธ์ในการพัฒนา - กำหนดเกณฑ์เสี่ยง LBW • ประเมินน้ำหนักที่ GA • 20,28,36 ถ้าเพิ่ม < 1 กก.ต่อเดือน • ส่งพบแพทย์ทุกราย ข้อมูล ที่ได้จาก การศึกษา - ปรับกระบวนการให้สุขศึกษา เป็นให้การปรึกษา ทบทวน แนวปฏิบัติ - แนะนำการนอนพัก อาหารพลังงานสูงที่มีโปรตีน ไม่เกิน 1 ใน 4 ส่วน ( 25% ) - ปรับยาเป็น FBC plus / Folic / Calciumcarbonate 1000 mg. (ให้ Calcium 400 mg.) กำหนด เป้าหมาย คิด ทำ
การวัด ประเมินผลและผลสัมฤทธิ์ • กระบวนการวัดและประเมินผล • PCU เก็บข้อมูล ระหว่างการฝากครรภ์ / การคลอด • ห้องคลอด รวบรวมข้อมูลจากแบบเก็บข้อมูล • ทีมวิเคราะห์ผล ดำเนินการวิเคราะห์ด้วย SPSS • ทีม MCH Board สรุปผลและนำไปปรับกระบวนการดูแล • ผลสัมฤทธิ์ • ลดอัตรา LBW จากปี2552 ร้อยละ 9.9 เป็นร้อยละ 5.6 (วัดผล ณ 31 มีนาคม 2553 )
กลยุทธ์ที่นำไปสูความสำเร็จกลยุทธ์ที่นำไปสูความสำเร็จ • แผนการดำเนินการ • เปิดตัว Project โดยแพทย์และทีม MCH Board • นำไปสู่การปฏิบัติโดยผู้รับผิดชอบงานตรง ทุกสถานีอนามัย • การปรับวิธีการ Approach Case ทีภาวะเสี่ยงต่อการคลอด LBW • งบประมาณในการดำเนินการ • ได้รับสนับสนุนงบประมาณจาก อบต. เช่น อบต.นาแก้ว และ อบต.บ้านโพน สนับสนุน นมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ศึกษาปัจจัย LBW ระยะที่ 1 ปรับวิธี Approach ระยะที่ 2 ดำเนินการโรงเรียนพ่อ-แม่ ทุก สอ. ระยะที่ 3 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ก.ย. ม.ค. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไปสิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป • เป้าหมายในปีแรก2553 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ • เป้าหมายในปีต่อๆ ไป ต้องลด LBW อย่างน้อย ร้อยละ 5 ( ของอัตรา LBW ในปีก่อนหน้า ) • ศึกษาปัจจัยความสำเร็จ/ความล้มเหลว • ใช้ข้อกำหนดหรือวิธีปฏิบัติเพื่อก้าวสู่ความสำเร็จ การแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไปสิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป • การพัฒนาเชิงระบบการดูแลแม่และเด็กตั้งแต่ ANC คลอด หลังคลอดและในชุมชน • ปรับปรุงระบบการดูแลกรณี Preterm และกรณีอื่นๆที่อาจส่งผลกระทบ • ปรับปรุง การประเมินหญิงครรภ์เสี่ยง
โครงการที่ดำเนินต่อไปโครงการที่ดำเนินต่อไป • โครงการเตรียมสู้ สู่ความเป็นแม่ เน้นความเข้มข้นของการมีส่วนร่วมของครอบครัว - เตรียมหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวให้พร้อมคลอด อย่างมีคุณภาพ / พร้อมต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - ส่งเสริมความรัก ความสัมพันธ์ในครอบครัว • โครงการเสริมสร้างทักษะชีวิตในโรงเรียน - สร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ของสตรีวัยรุ่น - เสริมสร้างทักษะการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ - สร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาเรื่องเพศ / STD ในโรงเรียน
ขอขอบคุณ • พญ.ธีรารัตน์ พลราชม หัวหน้าทีม • คุณปิญากรณ์ คำผอง หัวหน้าพยาบาล • คุณวิไลแก้ว มุงธิสาร หัวหน้าห้องคลอด • คุณนงนุช เอี้ยงลักขะ หัวหน้ากลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัว • คุณกรวรรณ บุระเนตร จนท.คอมพิวเตอร์ • คุณอรอนงค์ คำประสงค์ ผู้ช่วยเหลือคนไข้ • คุณแสงฟ้า เหลืองชาลี ผู้ช่วยเหลือคนไข้ • จนท.ผู้รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็กทุกสถานีอนามัย