180 likes | 360 Views
วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety) รหัสวิชา 407 224 3 (2-2-5) ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 เวลา สอน วันศุกร์ 09.00-11.00 น. ห้อง 3101 ผู้สอน อ.กฤษฎารัตน์ / อ.อนุพันธ์. กำหนดการเรียนการสอน. กำหนดการเรียนการสอน. การเก็บ คะแนนช่วงปลาย. การตัดเกรด. ข้อตกลง.
E N D
วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(Occupational Health and Safety)รหัสวิชา 407224 3 (2-2-5)ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 เวลาสอน วันศุกร์ 09.00-11.00 น. ห้อง 3101ผู้สอน อ.กฤษฎารัตน์/อ.อนุพันธ์
ข้อตกลง • เข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (ขาดได้ไม่เกิน 1 ครั้ง) • ส่งงานตามกำหนด ทำรายงานให้มีคุณภาพ (เนื้อหา รูปแบบ ความทันเวลา)
งาน • แบ่งเป็นกลุ่มศึกษาดูงานโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย วันที่ 25 มกราคม 2556 เวลา 08.00-16.00 น. • ใช้แบบประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในการทำงานในโรงพยาบาล ตามแบบสำรวจความเสี่ยง RAH.01 • ภาพประกอบ เนื้อหาช่วง 20-30 หน้า • ส่งและนำเสนอ 1 กุมภาพันธ์ 2556 • 09.00-11.00 น. ห้อง 3101
กำหนดการศึกษาดูงานโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัยกำหนดการศึกษาดูงานโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ๐๘.๐๐ น. เดินทางถึงโรงพยาบาล ๐๘.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. ฟังบรรยายการดำเนินงานอาชีวอนามัย ๑๐.๐๐ – ๑๐.๑๕ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๑๕ – ๑๒.๐๐ น. แบ่งกลุ่ม สำรวจความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากร โรงพยาบาล ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. แบ่งกลุ่ม สำรวจความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากร โรงพยาบาล (ต่อ) ๑๕.๓๐ – ๑๕.๔๕ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๕.๔๕ – ๑๖.๐๐ น. สรุปผลการศึกษาดูงาน เดินทางกลับ
ข้อมูลทั่วไป เป็นโรงพยาบาลทุติยภูมิระดับ M2 ห่างจากโรงพยาบาลศรีสะเกษ25 กิโลเมตร และโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 96 กิโลเมตร เนื้อที่ 12 ไร่ 3 งาน ส่วนที่พักอาศัย (แฟลตนอก) 9 ไร่ 3 งาน - ประชากร 131,069 คน - รับผิดชอบ 24 ตำบล มี 30 รพ.สต./ศูนย์สุขภาพชุมชน - กลุ่มโรคที่สำคัญ ได้แก่ HT, DM , Diarrhea, COPD/ Asthma, AMI ,Head Injury และUGIB - ระบบการพัฒนาคุณภาพและการเรียนรู้ของโรงพยาบาลใช้ HA Standard - สิ่งท้าทายของโรงพยาบาล คือการมุ่งเน้นผลลัพธ์และการธำรงรักษา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โครงสร้างการบริหารโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัยโครงสร้างการบริหารโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย นายแพทย์ทนงวีระแสงพงษ์ : ผอก. 3. ภารกิจการพัฒนา 1. ภารกิจการสนับสนุนบริการ ศูนย์พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล (11 ทีมนำ/29 หน่วยงาน) กลุ่มงานบริหารทั่วไป • ทีม กกบ.(ทีมนำสูงสุด) • ทีม ปสพ.(สภาคุณภาพ) • ทีม Facilitator & Internal Surveyors • ประธาน : นพ.ทนง วีระแสงพงษ์ (ผอก) • เลขานุการ : สุนารี เนาว์สุข (QCC) สมศรีทองอินทร์ 2. ภารกิจการให้บริการ • 10 งาน กลุ่มงานบริการทางการแพทย์ กลุ่มงานเทคนิคบริการ ภก.ไพฑูรย์ แก้วภมร นพ.ทนง วีระแสงพงษ์ กลุ่มงานการพยาบาล กลุ่มงาน เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน • งานเวชปฏิบัติทั่วไป • งานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน • งานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค • งานแพทย์แผนไทย พรศิริ แซ่เตียว สุนารี เนาว์สุข ทญ.กรรณิการ์ ชาดแดง ภัทรพล คันศร • 11 งาน • งานทันตสาธารณสุข • งานชันสูตรสาธารณสุข • งานรังสีการแพทย์ • 11 งาน
ทีมนำ : HLT 27 คน - วางทิศทาง นโยบาย - กำหนดยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) - วิเคราะห์ข้อมูล ศูนย์พัฒนาคุณภาพ FA และ RM ประสานนโยบายจากทีมนำ • Clinic • PCT • PTC • IC • IM • องค์กรวิชาชีพ (MSO , NSO) • HPH *** • Non Clinic • HRM • ENV • EQM Unit 30 หน่วยงาน แบ่งโครงสร้างคุณภาพเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1 ทีมนำสูงสุด , 10ทีมนำเฉพาะด้าน , 1 ทีมประสานงานคุณภาพ และ 30 หน่วยงาน โดยแยกทีม EQM และแบ่ง PCT ตามความเชี่ยวชาญของทีม โครงสร้างศูนย์พัฒนาคุณภาพ
บุคลากรและหน่วยงาน บุคลากรทั้งหมด 275 คน ชาย 58 คน (21.1%) หญิง 217 คน (78.9%) มีทีมนำเชิงระบบ 10 ทีมนำ จำนวนหน่วยงาน 30 หน่วยงาน