610 likes | 855 Views
การพัฒนาระบบราชการเพื่อส่งเสริม การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. เป้าหมายของการบริหารประเทศ. “เป้าหมายของการบริหารประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการบริหารแบบไหนก็แล้วแต่” ต้องอยู่ที่ความผาสุกของประชาชน อยู่ที่ความก้าวหน้าของประเทศ ที่สำคัญต้องเป็นวิธีการที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง.
E N D
การพัฒนาระบบราชการเพื่อส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีการพัฒนาระบบราชการเพื่อส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
เป้าหมายของการบริหารประเทศเป้าหมายของการบริหารประเทศ “เป้าหมายของการบริหารประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการบริหารแบบไหนก็แล้วแต่” ต้องอยู่ที่ความผาสุกของประชาชน อยู่ที่ความก้าวหน้าของประเทศ ที่สำคัญต้องเป็นวิธีการที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ก้าวข้ามผ่านให้พ้นความเป็นระบบราชการ(Beyond Bureaucracy) ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centered) และ ยึดประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก คิดเชิงยุทธศาสตร์ มุ่งไปข้างหน้า (Future-Oriented) และเปิดมุมมองให้กว้าง (Outside-In Approach) บริหารงานบนฐานขององค์ความรู้และข้อมูลสารสนเทศ ทำงานเชิงรุก กล้าคิด กล้าทำ ท้าทาย ไม่ยึดติดกับรูป แบบเดิม เพื่อ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
ก้าวข้ามผ่านให้พ้นความเป็นระบบราชการ(Beyond Bureaucracy) ต่อ... • ยึดหลักบูรณาการไร้พรมแดนของหน่วยงาน (Boundaryless) • มีเป้าหมายในการทำงาน สามารถวัดผลสำเร็จได้ อย่างชัดเจน • เน้นความรวดเร็ว เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ (Economy of Speed) • เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ปรับตัวให้ทันโลกทันสมัย • แสวงหาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี่สมัยใหม่
การปฏิรูประบบราชการ วิธีปฏิบัติราชการ โครงสร้าง ยุทธศาสตร์ อัตรากำลัง - พรฎ. ตามมาตรา 3/1 - E-Procurement - E-Government - GFMIS - ลดคน - ลดงบประมาณ ด้านบุคลากร - 20 กระทรวง - กลุ่มภารกิจ - องค์การมหาชน
พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.ฯ (ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545) มาตรา 3/1 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจาย อำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนอง ความต้องการของประชาชน ทั้งนี้โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผล ของงาน”
ระบบราชการแนวใหม่ที่ควรเป็นระบบราชการแนวใหม่ที่ควรเป็น สภาพการณ์ที่เป็นอยู่ ( As Is) เปลี่ยนแปลง (CHANGE) สิ่งที่ควรเป็น (TO BE) • ระบบราชการเสื่อมถอย • ขาดธรรมาภิบาลอย่างเป็นธรรม • มีประสิทธิภาพ • บริหารองค์กรแบบสมัยใหม่ • ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง • ยึดภารกิจเป็นตัวตั้ง • คนในองค์กรมีส่วนร่วม • ยึดผลลัพธ์การทำงาน • มีความโปร่งใส • องค์กรสมัยใหม่ • ระบบธรรมาภิบาล
การบริหารภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management :NPM) • เน้นการบริหารงานในแบบมืออาชีพ (professional management) • กำหนดวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ให้ความสำคัญต่อการรับผิดชอบต่อผลงาน (accountability for results) • ให้ความสำคัญต่อการควบคุมผลสัมฤทธิ์ และการเชื่อมโยงให้เข้ากับการจัดสรรทรัพยากรและการให้รางวัล • ปรับปรุงโครงสร้างองค์การให้มีขนาดเล็กลงเหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน มีการจ้างเหมางานบางส่วนออกไป (contract out) • เปิดให้มีการแข่งข้นในการให้บริการสาธารณะ (contestability) เพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพให้ดีขึ้น • ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานให้มีความทันสมัย อิงแบบของภาคเอกชน (business like approach) • เสริมสร้างวินัยในการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน ความประหยัดและคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร
การจัดแบ่งประเภทของ NPM ตามกระแสแนวคิดเกี่ยวกับการปฏิรูประบบบริหารงานภาครัฐ • การปรับปรุงประสิทธิภาพ(efficiency drive) • ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานให้ทันสมัย • เลียนแบบการบริหารงานเชิงธุรกิจมากขึ้น • มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน • การลดขนาดและการกระจายอำนาจ(downsizing and decentralization) • เปิดให้กลไกตลาดเข้ามาแทนภาครัฐ • จัดกลุ่มประเภทภารกิจงานหลัก/งานรอง (core function/ • non-core function) • เปิดให้มีการทดสอบตลาด (market – testing) • เปิดให้มีการแข่งขัน (contestability) • แยกผู้ซื้อบริการและผู้ให้บริการออกจากกัน (purchaser – provider split) • ใช้ระบบการทำสัญญาข้อตกลง (contractualism) • การจัดตั้งองค์การบริหารงานอิสระของฝ่ายบริหาร (agencification)
3. การมุ่งสู่ความเป็นเลิศ(in search of excellence) ให้ความสำคัญเรื่องวัฒนธรรมองค์การ ค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ การบริหารความเสี่ยง 4. การให้ความสำคัญต่อการบริการประชาชน(public service orientation) มุ่งเน้นคุณภาพการดำเนินงาน ให้ความสำคัญต่อความพึงพอใจของลูกค้าผู้รับบริการ การมีส่วนร่วมของประชาชน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ความคุ้มค่า NPM ให้ความสำคัญกับ
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546 – 2550 (ตามมติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 19พฤษภาคม 2546)
เป้าประสงค์หลัก (ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์) ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 1. พัฒนาคุณภาพการให้ บริการประชาชนที่ดีขึ้น พัฒนาระบบราชการ ไทยให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการ พัฒนาประเทศในยุค โลกาภิวัตน์โดยยึด หลักธรรมาภิบาล และประโยชน์สุข ของประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 2. ปรับบทบาทภารกิจ และ ขนาดให้มีความเหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 4 3. ยกระดับขีดความสามารถและ มาตรฐานการทำงานให้อยู่ใน ระดับสูงและเทียบเท่าเกณฑ์สากล ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ที่ 6 4. ตอบสนองต่อการบริหาร ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ยุทธศาสตร์ที่ 7
ยุทธศาสตร์ 1 : การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน • ยึดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ • บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • ลดต้นทุนตรวจสอบความคุ้มค่า • มีข้อตกลงว่าด้วยผลงาน • บริการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง • ลดความผูกขาดของส่วนราชการ • ปรับปรุงขั้นตอน/ แก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่ล้าสมัย • ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ยุทธศาสตร์ 2 : การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน • เน้นการร่วมบริหารเชิงบูรณาการโดยมีกลไกประสานการทำงานร่วมกัน • ทบทวนการจัดโครงสร้างให้มีความเหมาะสมมากขึ้น • วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตพื้นที่ในเชิงบูรณาการและการจัดสรรทรัพยากรในลักษณะแบบอิงพื้นที่ • จัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการในระดับต่าง ๆ
ยุทธศาสตร์ 3 : การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ • ปรับระบบการจัดสรรงบประมาณ ให้มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของรัฐบาล และสามารถแสดงผลสัมฤทธิ์ได้ • เปิดโอกาสให้แต่ละส่วนราชการทำความตกลงล่วงหน้าเก็บเงินเหลือจ่ายไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์กร/ฝึกอบรมข้าราชการได้ • ปรับปรุงระบบบัญชีให้สามารถคำนวณตุ้นทุนในการจัดบริการสาธารณะได้
ยุทธศาสตร์ 4 : การสร้างระบบบริหารงนบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ • เร่งสร้างระบบสรรหาบุคลากรผู้มีความสามารถสูง หรือระดับหัวกะทิ เข้าสู่ระบบราชการไทย โดยมุ่งเน้นให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาระบบราชการไทย • นำระบบเปิดมาใช้กับผู้บริหารระดับสูง • ทบทวนและปรับเปลี่ยนระบบการจำแนกตำแหน่ง (P.C.) และค่าตอบแทน • ให้เงินเดือนค่าตอบแทนตามความเป็นจริง • เพิ่มผลิตภาพ (Productivity)ของข้าราชการ • เชื่อมโยงผลงานเข้ากับการสร้างแรงจูงใจ
ยุทธศาสตร์ 5 : การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม ของระบบราชการ • สร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้บริหารระดับสูงจากประสบการณ์ปฏิบัติจริง • เสนอแนะการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ • สร้างการมีส่วนร่วมในการแสวงหากระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบราชการ
กระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม กระบวนทัศน์=กรอบความคิด / วิธีคิด (Paradigm) วัฒนธรรม = ความคิด ประเพณี ทักษะ ศิลป (Culture) ค่านิยม = ความเชื่อถาวรเกี่ยวกับสิ่งที่เหมาะสม/ (Value) มาตรฐานความเชื่อ
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยมของระบบราชการ • สร้างรูปแบบกระบวนการเรียนรู้ • จากประสบการณ์จริงให้เกิดขึ้นในภาครัฐ ข้าราชการยุคใหม่ 2. เสนอแนะการจัดสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. เปิดโอกาสให้สังคมเข้ามามีส่วนร่วม การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ฯ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : สร้างรูปแบบกระบวนการเรียนรู้จาก • ประสบการณ์จริงให้เกิดขึ้นในภาครัฐ • เปลี่ยนกระบวนทัศน์ของข้าราชการ โดยวิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง • (Action Learning) • พัฒนายุทธวิธี และประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ • นำรูปแบบการสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อปรับเปลี่ยน • กระบวนทัศน์ใหม่ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักการเมือง • สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Champion) • สร้างตัวอย่างต้นแบบการปรับเปลี่ยนให้เห็นเป็นรูปธรรม • (Pilot and Demonstration Case) ข้าราชการยุคใหม่
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : เสนอแนะการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อ • ต่อการเรียนรู้ • ปรับปรุงกฎ ระเบียบ ให้เกื้อกูลต่อการทำงานเพื่อปลูกฝัง • กระบวนทัศน์ใหม่ • ส่งเสริมการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ • วิธีการ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • สร้างระบบการให้รางวัล และลงโทษ (Carrot and Stick) • เพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยน ข้าราชการยุคใหม่
ยุทธศาสตร์ที่ 3. เปิดโอกาสให้สังคมเข้ามามีส่วนเร่งรัด • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ฯ • สร้างวาระแห่งชาติ โดยการดึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน • ในสังคมให้รับรู้และมีบทบาทต่างๆในการกระตุ้นเร่งเร้า • ให้การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์เกิดขึ้นได้จริง • รณรงค์ เผยแพร่กระบวนทัศน์ใหม่ให้ประชาชนเข้าใจ • เพื่อให้เป็นแนวทางในการตรวจสอบนักการเมืองและข้าราชการ • สร้างกลไกให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและติดตามงานปรับเปลี่ยน • กระบวนทัศน์ • ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญของงานปรับเปลี่ยน • กระบวนทัศน์อย่างต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ 6 : การเสริมสร้างความทันสมัย (รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์) • ปรับปรุงระบบการทำงานให้เป็นสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) • ให้ส่วนราชการเปิดให้บริการประชาชนทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางระบบ internet และ website • วางระบบการรายงานผลสัมฤทธิ์ (performance track system) ของส่วนราชการต่าง ๆ ให้เชื่อมโยงเข้าสู่ศูนย์ปฏิบัติการระดับกระทรวง (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการของนายกรัฐมนตรี (PMOC) • วางระบบแลกเปลี่ยน แบ่งปันการใช้ระบบสารสนเทศร่วมกัน
ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม • จัดให้มีระบบการปรึกษาหารือกับประชาชนการสำรวจหรือประชุม เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชน • ให้ทุกส่วนราชการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศที่มีความจำเป็นต่อการแสดงภาระรับผิดชอบ ความโปร่งใสและเปิดเผยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานใน Website • เปิดโอกาสให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้ามาร่วมปฏิบัติงาน • กับข้าราชการ
เครื่องมือในการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ • การตราและบังคับใช้พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ • และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • การสร้างแรงจูงใจให้กับส่วนราชการและข้าราชการ • เป็นตัวเงิน • ไม่เป็นตัวเงิน • การสร้างกระแสแรงกดดันจากบุคคลภายนอก • การติดตามและประเมินผล
พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.ฯ (ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545) มาตรา 3/1 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจาย อำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนอง ความต้องการของประชาชน ทั้งนี้โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผล ของงาน”
มาตรา 3/1 (ต่อ) “ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึง ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของ ประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสม ของแต่ละภารกิจ”
หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี(ม. 6) เป้าหมายการบริหารราชการ เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น
หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ม.7 การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุก และความเป็นอยู่ ที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ แนวทาง ม.8 (1) การกำหนดภารกิจต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตาม ม. 7 / นโยบายแห่งรัฐ / นโยบายของ ค.ร.ม. • หลักการ • ประชาชนเป็นศูนย์กลาง • - โปร่งใส • การมี ส่วนร่วมของประชาชน (2) ปฏิบัติภารกิจโดยซื่อสัตย์สุจริต ตรวจสอบได้ เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น (3) ศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสียให้ครบทุกด้าน มีขั้นตอนการดำเนินงานที่โปร่งใส มีกลไกการตรวจสอบ รับฟังความคิดเห็น/ชี้แจงทำความเข้าใจกับประชาชน (4) คอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการเพื่อปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้เหมาะสม (5) แก้ไขปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินการภายในหน่วยงานโดยเร็ว หรือแจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อดำเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็ว
หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (ต่อ) การบริหารราชการแบบบูรณาการ (ม.10) องค์การแห่งการเรียนรู้ (ม.11) ม. 16,17 ม. 12, 13,14 ม. 19 ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์และเป้าหมาย - ข้อตกลง แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) แผนปฏิบัติราชการประจำปี ทบทวน/ เตรียมการ รัฐธรรมนูญ ประมาณการรายได้-รายจ่ายระยะปานกลาง แผนนิติบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี ม. 18 ม. 15
รายงานสรุปสภาวะของประเทศรายงานสรุปสภาวะของประเทศ • รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2548-2551) • Thailand Milestone (Benchmarking) • Vision 2010/2020 ประมาณการการคลัง (รายรับ/รายจ่าย) ล่วงหน้า (Medium-term Fiscal Forward Estimation) • ยุทธศาสตร์ • รายสาขา แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวง กรม กลุ่มจังหวัด จังหวัด แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี งบประมาณรายจ่าย ประจำปี
มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2548 เห็นชอบ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548-2551 ได้กำหนดยุทธศาสตร์การบริหารราชการแผ่นดิน ไว้ 9 ยุทธศาสตร์ 0 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขจัดความยากจน ระดับมหภาค ระดับชุมชน ระดับบุคคล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต การถ่ายทอด พัฒนา วัฒนธรรม ภูมิปัญญาที่ดี การเสริมสร้างสุขภาวะ ประชาชน การเสริมสร้างความมั่นคงของชีวิตและสังคม การเตรียมความพร้อมผู้สูงอายุ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ การปรับโครงสร้างภาคการเกษตร การปรับโครงสร้างภาคอุตสาหกรรม การปรับโครงสร้างภาคบริการและการท่องเที่ยว สนับสนุน SMEs และผู้ประกอบการใหม่ การบริหารการเงิน และการคลัง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม
ประเด็นที่ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การเข้าถึงประโยชน์ทางชีวภาพ การฟื้นฟูทรัพยากรดิน การบริหารจัดการน้ำ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ควบคุมมลพิษ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การดำเนินนโยบายต่างประเทศเชิงรุก การส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติต่าง ๆ กับนานาประเทศ ความร่วมมือภายใต้กรอบพหุภาคี และการสร้างบทบาท ในเวทีโลก ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การทูตเพื่อประชาชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม การพัฒนาระบบราชการ การป้องกันและปราบปรามทุจริต การเสริมสร้างธรรมาภิบาล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม ประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม สิทธิมนุษยชน กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การรักษาความมั่นคงของรัฐ การป้องกันประเทศ การรักษาความมั่นคงของรัฐ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 9 การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตโลก
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดทำแผนระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดทำแผน การบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2547 1 เมื่อคณะรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่งให้มีคณะกรรมการ 2 คณะ (ข้อ 3) คณะกรรมการจัดทำรายงานสรุปสภาวะของประเทศ เลขาฯ สภาพัฒน์ฯ เป็นประธาน มีหน้าที่สรุป และจัดทำรายงานสภาวะทางเศรษฐกิจ มหภาค สถานการณ์การเงิน การคลัง จัดทำตัวเลข ประมาณการแนวโน้มทางเศรษฐกิจ และสังคม อย่างน้อยสี่ปีข้างหน้าของประเทศ เพื่อเสนอต่อ นายกรัฐมนตรีคนใหม่ สำหรับเป็นข้อมูลประกอบ การพิจารณาวางนโยบายของรัฐบาล
คณะกรรมการรวบรวมข้อมูล เลขาฯ ค.ร.ม. เป็นประธาน มีหน้าที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการตาม แผนการบริหารราชการแผ่นดินฉบับที่ผ่านมาและ ผลการดำเนินการตามแผนงานและโครงการต่าง ๆ ของทุกส่วนราชการเพื่อนำเสนอนายกรัฐมนตรีคนใหม่ 2 ให้ปลัดกระทรวงทุกกระทรวงจัดทำรายงานสรุปผล การปฏิบัติราชการของกระทรวงและรวบรวมข้อมูล ส่งให้คณะกรรมการรวบรวมข้อมูล(ข้อ 4)
แผนนิติบัญญัติ คือ แผนการจัดทำกฎหมายที่สอดคล้อง กับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อให้ทราบว่าการดำเนินการตาม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ใน แผนการบริหารราชการแผ่นดินแต่ ละเรื่อง สามารถดำเนินการได้โดย มีกฎหมายรองรับพอเพียงกับการ ปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลสำเร็จหรือไม่ ถ้าการปฏิบัติงานในเรื่องใดจำเป็น ต้องจัดให้มีกฎหมายสนับสนุนการ ปฏิบัติงานด้วย ก็จะกำหนดเป็นแผน การดำเนินการด้านกฎหมายเพื่อ สนับสนุนนโยบายของรัฐขึ้น
แนวทางการจัดทำแผนนิติบัญญัติแนวทางการจัดทำแผนนิติบัญญัติ ให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรีจัดทำ และเสนอแผนนิติบัญญัติต่อ คณะรัฐมนตรี เพื่อให้ความเห็นชอบภายใน 120 วัน นับตั้งแต่วันที่แผนการบริหารราชการแผ่นดินประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา (ข้อ 6) ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการต่าง ๆ ที่จะต้องแจ้งให้ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทราบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ข้อ 7)
หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (ต่อ) การคำนวณต้นทุนค่าใช้จ่าย ประเมินความคุ้มค่า ในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ม. 21 ม. 22 ม. 23 การจัดซื้อจัดจ้าง มาตรฐานการปฏิบัติงาน ม. 24, 25, 26
หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ม. 29 ม. 30, 31, 32 ม. 27, 28 กระจายอำนาจการตัดสินใจ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ศูนย์บริการร่วม เทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ม. 33, 34 ม. 35, 36, 42 • การทบทวนความจำเป็นความคุ้มค่าภารกิจ การทบทวน ปรับปรุง กฎหมาย กฎ ระเบียบให้เหมาะสม การปรับโครงสร้าง อัตรากำลังให้เหมาะสม สำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา
แผนพัฒนากฎหมาย คณะรัฐมนตรีในการประชุมวันที่ 28 ธันวาคม 2547 มีมติ ให้ ก.พ.ร. กำหนดตัวชี้วัดในการพัฒนากฎหมายไว้ ในข้อตกลงคำรับรองการพัฒนาการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2548 ของทุกกระทรวง และกรม และให้ ก.พ.ร. ร่วมกับคณะกรรมการนโยบายแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนากฎหมายร่วมกันเป็นผู้ประเมินผลการปฏิบัติ ตามข้อตกลงดังกล่าว
กรอบแนวทางการพัฒนากฎหมายกรอบแนวทางการพัฒนากฎหมาย สอดคล้องกับกรอบนโยบายการพัฒนากฎหมาย 3 หลักการ (ตามมติ ค.ร.ม. 28 ธ.ค. 47) ดำเนินการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ เป็นไปตามนโยบายพิเศษของรัฐบาล พัฒนากฎหมายเชิงกระบวนการ
สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างสอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2548-2551) (ตามมติ ค.ร.ม. 11 ม.ค. 48) ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรมและการค้าระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ขยายฐานภาคบริการ ยุทธศาสตร์พัฒนาสังคมเชิงรุก ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ