590 likes | 1.51k Views
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน Classroom Action Research. ดร.ภิรดี วัชรสินธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ประเด็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้. แนวคิดและหลักการของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน แนวทางการทำวิจัยในชั้นเรียน ข้อเสนอแนะในการวางแผน & กรอบการดำเนินงานวิจัย.
E N D
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนClassroom Action Research ดร.ภิรดี วัชรสินธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
ประเด็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • แนวคิดและหลักการของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน • แนวทางการทำวิจัยในชั้นเรียน • ข้อเสนอแนะในการวางแผน & กรอบการดำเนินงานวิจัย
แนวคิดและหลักการของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนแนวคิดและหลักการของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ตอบคำถาม ที่อยากรู้ สร้าง องค์ความรู้ พัฒนา สร้างสรรค์ การวิจัย จุด มุ่ง หมาย การวิจัยในชั้นเรียน ? แก้ปัญหา ในชั้นเรียน พัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน พัฒนาวิธีสอน/ สื่อ/ นวัตกรรม
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน • การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบที่ครูมุ่งปฏิบัติเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในสภาพการณ์จริง • CAR is systematic inquiry with the goal of informing practice in a particular situation. ที่มา: Mettetal,G. (2002-2003)
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน • การศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจสำหรับครูในการจัดการเรียนการสอน • CAR is a way for instructors to discover what works best in their own classroom situation, thus allowing informed decisions about teaching. ที่มา: Mettetal,G. (2002-2003)
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน • การวิจัยในชั้นเรียนเสนอภาพสะท้อนทั้งจากมุมมองของครูและผลการวิจัยแบบดั้งเดิม • CAR occupies a midpoint on a continuum ranging from teacher reflection at one end to traditional educational research at the other. ที่มา: Mettetal,G. (2002-2003)
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การศึกษาค้นคว้าในประเด็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน การจัดการเรียนสอน และการปฏิบัติงานของครูในขณะนั้น เพื่อนำผลที่ได้มาใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ปรับปรุงการเรียนการสอน พัฒนาผู้เรียน ตลอดจนพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ดียิ่งขึ้น
คำถามที่ท้าทาย? • ทำอย่างไรให้การวิจัยในชั้นเรียนไม่แยกส่วน แต่กลมกลืนไปกับการเรียนการสอนและงานประจำของครู • ควรใช้วิธีวิจัยแบบเป็นทางการ (formal/ academic research) หรือไม่? รูปแบบใด? • ทำอย่างไรให้วงจร R & D เกิดผลในทางปฏิบัติ (เกิด act)มีการนำผลวิจัยไปใช้จริงๆ
3.Observe CAR cycle หรือ วงจร PAOR 4. Reflect 2.Act 1.Plan ที่มา: Kemmis (1988)
วงจร PAOR ที่มา: สุวิมล ว่องวาณิช (2543)
CAR cycle ที่มา: Kolk, M.(2011)
CAR Cycle Identify the problem Develop A Plan Reflect/ Report CAR cycle • RESEARCH DESIGN • Sampling Design • Measurement Design • Analysis Design Act/ Implement Observe/ Data Collection
Keywords • การปฏิบัติ (ทางการศึกษา) –practice/action • การสะท้อนผล – self-reflection • การวิจัยแบบร่วมมือ – collaborative res. • การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง – continuous improvement • การวิจัยโดยครู – teacher research
แนวทางการทำวิจัยปฏิบัติการแนวทางการทำวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
1.กำหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัย1.กำหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัย • เพื่อแก้ปัญหาในชั้นเรียน • เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน • เพื่อคิดค้นกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ/ พัฒนาเทคนิคการเรียนการสอน • เพื่อพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร • เพื่อพัฒนา ปรับปรุงเทคนิคการวัดประเมินผล • เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน/ นวัตกรรมทางการศึกษา
2.การตั้งคำถามวิจัย/ ปัญหาวิจัยที่เฉพาะ เป็นรูปธรรม ควรพิจารณาคำถาม • อะไร • ทำไม • อย่างไร
3.กำหนดรูปแบบของการวิจัย3.กำหนดรูปแบบของการวิจัย เป็น ทางการ แบบแผน การวิจัย ไม่เป็น ทางการ ระดับของ ปัญหาวิจัย ปัญหาเล็ก ทำคนเดียว ปัญหาร่วมกัน ทำเป็นทีม ปัญหาระดับสถาบัน ทำร่วมกันทั้งสถาบัน ปัญหาระดับท้องถิ่น ทำร่วมกับชุมชน
การออกแบบการวิจัยresearch design • การออกแบบการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (SD) • การออกแบบการวัด/เก็บข้อมูล (MD) • ตัวแปร • เครื่องมือวัด • การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (AD)
SD SD SD MD MD MD AD AD AD 4.การออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน Stage 3: Evaluate & Revise PAOR cycle Stage 2: Experiment & Development Stage 1: Problem analysis (baseline)
การสะท้อนผล (reflection) • การถกอภิปรายถึงปัญหาและวิธีแก้ปัญหา • การตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นและข้อค้นพบกับเพื่อนร่วมงาน • สะท้อนกลับการทำงานของตนเอง (self-reflection) • การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ข้อเสนอแนะในการวางแผน ดำเนินการวิจัยในชั้นเรียน
เริ่มจากงานวิจัยขนาดเล็ก ใช้ข้อมูลที่หาได้ในห้องเรียน ใช้เวลาไม่มาก • เน้นกระบวนการที่เป็นระบบ มากกว่าผลลัพธ์ • เปิดใจให้กว้าง เพื่อรับฟังมุมมองที่หลากหลาย ทั้งก่อน ระหว่าง และหลังดำเนินการวิจัย • เมื่อชำนาญแล้ว พยายามใช้ designใหม่ๆ
CAR will help you…. • Improve your teaching. • Document your teaching. • Renew your excitement in teaching. ที่มา: Mettetal,G. (2002)
ตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียนตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียน 1. การพัฒนาทักษะการเรียนรู้เป็นทีมโดยใช้ปัญหาเป็นฐานบนเครือข่ายสังคมออนไลน์สำหรับการเรียนร่วมของนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
ตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียนตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียน 2.การวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนของนักศึกษาหลักสูตรอุตสาหกรรมอาหารและการบริการ
ตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียนตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียน 3. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียนตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียน 4. การศึกษาเจตคติของนักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อรายวิชาทักษะการสื่อสารเพื่องานธุรกิจเทคโนโลยี
ตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียนตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียน 5. การพัฒนาข้อสอบมาตรฐานหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ตามหลักสูตรของคณะมนุษยศาสตร์ฯ มสด.
วิเคราะห์ปัญหา ในการจัดการเรียนการสอนวิชา IT ซึ่งเป็นวิชาพื้นฐาน มีนักศึกษาปี 1 เรียนเป็นจำนวนมาก การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะด้านจิตพิสัย สำหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ทำได้ยาก จะพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนในด้านนี้อย่างไร โดยให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชา
จากสภาพปัญหา..... ลองเขียน • ประเด็นวิจัย • คำถามวิจัย • หัวข้อวิจัย • วัตถุประสงค์การวิจัย • ตัวแปรที่สนใจศึกษา/ เครื่องมือที่ใช้วัด • การออกแบบการวิจัย (SD, MD, AD)