190 likes | 556 Views
การประชุม พัฒนาศักยภาพผู้ดำเนินงาน “คลินิก DPAC ”ขยายเครือข่าย สู่ รพสต. วันที่ 29 เมษายน 2554 ณ โรงพยาบาลวังน้อย. ทัศนีย์ ช่วยรักษา : นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสจ.พระนครศรีอยุธยา. -หมู่บ้าน / องค์กรต้นแบบ -มีศูนย์จัดการข้อมูล NCD. - Hight risk DM HT < 5% -Case DM/HT ลดลง 3 %
E N D
การประชุมพัฒนาศักยภาพผู้ดำเนินงาน “คลินิก DPAC”ขยายเครือข่าย สู่ รพสต.วันที่ 29 เมษายน 2554ณ โรงพยาบาลวังน้อย ทัศนีย์ ช่วยรักษา : นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสจ.พระนครศรีอยุธยา
-หมู่บ้าน / องค์กรต้นแบบ -มีศูนย์จัดการข้อมูลNCD -Hight risk DM HT < 5% -Case DM/HT ลดลง 3% -ปชช.ได้รับการคัดกรอง90% ประชาชน องค์กร NCD Board & DPAC Team (CUP) วัดรอบเอว (15 ปี ขึ้นไป) คัดกรอง (35 ปี ขึ้นไป) ชุมชน โรงเรียน โรงงาน วัด หน่วยงาน ชมรม สร้างสุขภาพ ร.ร.ส.ส. (HPS) HWP วัด ส.ส. องค์กรไร้พุง ปกติ เสี่ยงสูง อ้วน /เป็นโรค 3 อ. 2 ส. Individual App Comm App 3◦Care รพ.แม่ข่าย หมู่บ้านปรับเปลี่ยน ฯ / ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค กิจกรรม คัดกรอง ปรับเปลี่ยน Case Manage OPD/IPD Care Giver DPAC รพสต. SRM แผนชุมชน
ตัวชี้วัด : งานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเฝ้าระวังรอบเอว (วัดรอบเอว) -หญิงเอวไม่เกิน 80 ซม. ร้อยละ 70 หรือมากกว่า -ชายเอวไม่เกิน 90 ซม. ร้อยละ 85 หรือมากกว่า คลินิก DPAC ขยายสู่ รพสต. อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง หมู่บ้าน / ชุมชนต้นแบบลดหวาน มัน เค็มฯ / ลดเสี่ยง ลดโรค -รพสต.ละ 1 แห่ง องค์กรไร้พุง ทุกโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์องค์กรไร้พุง
คำสำคัญ • การเฝ้าระวังรอบเอว (วัดรอบเอว) • DPAC • หมู่บ้าน / ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง • หมู่บ้าน / ชุมชนลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค (หมู่บ้าน/ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม....เดิม ) • องค์กรไร้พุง
เฝ้าระวังรอบเอว • แนวดำเนินงาน....เพื่อ 1. ดูแนวโน้มสถานการณ์2.ปรับเปลี่ยนลดพุง • กำหนด setting…..6 กลุ่ม • กำหนดจำนวนเป้าหมาย....จาก ปชช.กลางปีที่สำรวจ(อยู่จริง) ปชช.15 – 34 ปี = วัดรอบเอว70 %...เพื่อการเฝ้าระวัง ปชช. 35 ปีขึ้นไป = วัดรอบเอว + คัดกรอง DM HT 90 % เพื่อเฝ้าระวัง/ปรับเปลี่ยนในกลุ่มเอวเกิน / น้ำหนักเกิน • การรายงานผล....คีย์ผลงานวัดรอบเอว และ คัดกรอง(18 แฟ้ม / HOS XP) - การเฝ้าระวังรอบเอว กลุ่ม15 - 34 ปี วัดปีละครั้ง...สะสมผลงานวัดผลปลายปี (มิ.ย.) - การเฝ้าระวังรอบเอว +ปรับเปลี่ยนลดพุง กลุ่ม 35 ปีขึ้นไป *เอวปกติ...วัดปีละครั้ง...จัดกิจกรรมเพื่อเฝ้าระวังไม่ให้กลายเป็นกลุ่มเสี่ยง / กลุ่มป่วย *เอวเกิน /BMI เกิน ในทุกกลุ่ม..ใช้กระบวนการ DPAC ช่วยเหลือ+ วัดเอวอีกครั้ง.. เพื่อประเมินผล และเก็บผลงาน
วัดรอบเอว • เป้าหมายแบ่งประเภท 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 นักเรียนมัธยมปลาย ( ม.4 – 6 ) กลุ่มที่ 2 อสม. กลุ่มที่ 3 อปท. กลุ่มที่ 4 จนท.สาธารณสุข กลุ่มที่ 5 ข้าราชการทุกหน่วยงาน (ยกเว้นใน อปท. และ สธ.) กลุ่มที่ 6 ประชาชนทั่วไปอายุ 15 ปี ขึ้นไป (ปชช.15ปีขึ้นไปนอกเหนือ จากกลุ่มต่างๆ ได้แก่ พระภิกษุ , ปชช.ในโรงงาน ชุมชน , นักศึกษาวิทยาลัย/มหาวิทยาลัย เป็นต้น)
การคำนวณผลงาน 1. คำนวณผลงานจำแนกตามกลุ่มเป้าหมายประชากร ( 6 กลุ่ม ) แยกชาย - หญิง = ปชช. (จำนวนเอวไม่เกิน) ของแต่ละกลุ่ม x 100 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งหมดของแต่ละกลุ่ม หมายเหตุ ข้อ 1ปชช.ของแต่ละกลุ่มอาจซ้ำได้ 2. คำนวณผลงานความครอบคลุม 2.1 คคค. วัดรอบเอว > 70 % แยกชาย - หญิง = จำนวน ปชช.15ปีขึ้นไปที่วัดรอบเอว x 100 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งหมด (ปชก.กลางปีที่สำรวจ) 2.2 คคค. ผลงาน ปชช.เอวไม่เกิน แยกชาย - หญิง = จำนวน ปชช.15ปีขึ้นไปที่เอวไม่เกิน (รวมทั้ง 6 กลุ่ม) x 100 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งหมด (ปชก.กลางปีที่สำรวจ) หมายเหตุ ข้อ 2.2 คำนวณแยก ชาย – หญิง และ ผลงานไม่ซ้ำคน(เพราะคีย์เลขบัตร ปชช. ๑๓ หลักโปรแกรมจะไม่นับคนซ้ำ)
DPAC 1. เป้าหมายคลินิกไร้พุง ( DPAC ) : ดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยโปรแกรม DPAC และ DPAC 1.1 ทุกโรงพยาบาล (แม่ข่าย) 1.2 ขยายสู่ รพสต. โรงพยาบาลละ 1 รพสต. (ลูกข่าย) 2. โปรแกรม DPAC 2.1 โปรแกรม DPAC คือ 3 อ. 2 ส. (ให้ความรู้ + ติดตามระยะสั้น) ( ปชช.กลุ่มปกติ ,ปชช.กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย ที่มีเอวไม่เกิน / BMIไม่เกิน) 2.2 โปรแกรม DPAC คือ กระบวนการเต็มรูปแบบของ DPAC ( ปชช.กลุ่มเสี่ยง / ปชช.กลุ่มป่วยNCD เฉพาะที่มีเอวเกิน / BMI เกิน)
หมู่บ้าน / ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหมู่บ้าน / ชุมชนลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค • เป้าหมายหมู่บ้าน / ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ หมู่บ้าน / ชุมชนลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค = ดำเนินการทุก รพ.สต.ๆละ 1 แห่ง โดย..... “ทุก รพ.สต.พัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรคผ่านตามเกณฑ์ฯในระดับดีขึ้นไป หรือ หมู่บ้าน/ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” • รพสต.ลูกข่ายคลินิกไร้พุง( DPAC )มีการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ผ่านตามเกณฑ์ฯ ในระดับดีขึ้นไปหรือ ผ่านเกณฑ์ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ องค์กรต้นแบบไร้พุง (เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง) อย่างน้อย 1 แห่ง
* หมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบลดเสี่ยง ลดโรค * หมู่บ้าน/ชุมชนลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค)* องค์กรต้นแบบไร้พุง เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การดำเนินงาน“ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค”พื้นที่เป้าหมายต่างๆ
เกณฑ์การดำเนินงานหมู่บ้าน/ชุมชน“ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค”
สรุป คะแนนเต็ม 120 ดีมาก 101-120 ดี 81-100 พอใจ 61-80 พัฒนาได้ 61
องค์กรต้นแบบไร้พุง • มีคณะกรรมการรับผิดชอบการจัดการ....NCD Board / คกก.องค์กรไร้พุง • มีนโยบายด้านการส่งเสริมการจัดการควบคุมน้ำหนัก...แผ่นป้ายนโยบาย / Chart แสดง • มีแผนงานสร้างเสริมสุขภาพเพื่อลดโรคอ้วนลงพุง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง....แผนงาน / โครงการ / แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ / แผนชุมชน • มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในองค์กร...เสียงตามสาย เอกสาร แผ่นพับ • ร้อยละ 90ของบุคลากรในองค์กรประเมินวัดรอบเอว....แบบประเมินการวัดรอบเอวของคนในองค์กร (รายบุคคล / แบบสรุปผล) • ร้อยละ 60 ของบุคลากรชาย / หญิง มีรอบเอวไม่เกินมาตรฐาน • องค์กรเป็นศูนย์เรียนรู้อย่างยั่งยืน