290 likes | 435 Views
การประเมินสภามหาวิทยาลัย. โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการ สมศ. วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมสุโกศล กรุงเทพฯ. สภามหาวิทยาลัย. ทำไมต้องประเมิน ประเมินอะไร ประเมินอย่างไร. ปรัชญา ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ
E N D
การประเมินสภามหาวิทยาลัยการประเมินสภามหาวิทยาลัย โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการ สมศ. วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมสุโกศล กรุงเทพฯ
สภามหาวิทยาลัย • ทำไมต้องประเมิน • ประเมินอะไร • ประเมินอย่างไร
ปรัชญาก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพปรัชญาก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ • Breaking Barriers Towards a Millennium of Quality • ปณิธานประเมินเพื่อพัฒนา......อย่างต่อเนื่อง • Assessing for Continual Improvement • วิสัยทัศน์คงความเชี่ยวชาญขององค์กร เพิ่มความเชื่อมั่น • ของประชาคม สร้างความเชื่อใจให้ประชาชน • ONESQA’s Maintaining Competency, Increasing • Creditability, and Enhancing Public Confidence
พันธกิจประเมินคุณภาพและพันธกิจประเมินคุณภาพและ • รับรองมาตรฐานการจัดการศึกษา • Assessing and Accrediting the Quality of Educational Institutions นโยบายหมื่นมิตร
ก้าวข้ามขีดจำกัด Overcome Limitations คิดสร้างสรรค์ Nurture Creativity ขับเคลื่อนจริยธรรม Enhance Ethics รับผิดชอบต่อสังคมSocial Responsibility สำนึกคุณภาพ Quality Awareness องค์กรกัลยาณมิตร Amicable Agency 5
หลักการ ประเมินเพื่อพัฒนา....... อย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ ๓ มิติ ๒ ๑ ๓ ตัวบ่งชี้ มาตรการ ส่งเสริม ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน มาตรการเทียบเคียง
คุ้มค่า/คุณค่า • งบประมาณ • อาคาร สถานที่ • เครื่องมือ • ยานพาหนะ • บุคลากร • ฯลฯ
ความปลอดภัย • ชีวิต / จิตวิญญาณ • ทรัพย์สิน • สิ่งแวดล้อม • ฯลฯ
ความรับผิดชอบ • การบริการตามปรัชญา / วัตถุประสงค์ • ความพร้อมในการให้บริการ • ความเชี่ยวชาญในสาขา • ความจำเป็นของสังคม • ฯลฯ
ความทันสมัย • ความเป็นไทย / สากล • ความพร้อม สู่ ASEAN Community • ความเป็นผู้นำในระดับนานาชาติ • ฯลฯ
ความดี • การปฏิบัติตามกฏระเบียบ • การธำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณ • การป้องกัน แก้ไข ปัญหา • การไม่เอาเปรียบสังคม • ฯลฯ
ความเกื้อกูล / ความร่วมมือ • ภายใน / ระหว่างสถาบัน • ภาครัฐ / เอกชน (ภาคอุตสาหกรรม) • ระดับเดียวกัน / ต่างระดับ • ใน / ระหว่าง ประเทศ • ฯลฯ
ความสมเหตุ สมผล • IQA-EQA • ระหว่างตัวบ่งชี้ • การบริหาร-คุณภาพบัณฑิต • ฯลฯ
ความต่อเนื่อง • อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต • การดำเนินการ • ฯลฯ
การมีส่วนร่วม • นิสิต / นักศึกษา • อาจารย์ / บุคลากร • ผู้บริหาร / กรรมการ • ผู้ปกครอง • ชุมชน • ฯลฯ
ความคิดสร้างสรรค์ • ความริเริ่ม • ความหลากหลาย • ฯลฯ
สภามหาวิทยาลัย: ความรับผิดชอบเชิงนโยบาย • คุณภาพ บัณฑิต • คุณภาพ งานวิจัย / สร้างสรรค์ • คุณภาพ การบริการวิชาการ • คุณภาพ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม • คุณภาพ การบริหาร • คุณภาพ กรรมการสภา • อัตลักษณ์ / เอกลักษณ์ / มาตรการส่งเสริม • ฯลฯ
(ร่าง) ตัวบ่งชี้การประเมินกรรมการสภามหาวิทยลัย
แบบทดสอบ • 1. ชื่อมหาวิทยาลัย....................................................................... • ปรัชญา..............ปณิธาน.................วิสัยทัศน์..............พันธกิจ............... • อัตลักษณ์..................เอกลักษณ์.................มาตรการส่งเสริม................... • 2. ให้บริการ สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ............คณะ • สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ ............คณะ • สาขาสังคมศาสตร์ ............คณะ • สาขามนุษยศาสตร์ ............คณะ • 3. ให้บริการนอกที่ตั้ง......................แห่ง สาขา.......................... • 4. จำนวนอาจารย์................คน วุฒิ ป.ตรี ร้อยละ..................... • วุฒิ ป.โท ร้อยละ..................... • วุฒิ ป.เอก ร้อยละ.....................
5. จำนวน ผศ. ร้อยละ................ รศ. ร้อยละ................ ศ. ร้อยละ................ • 6. จำนวนนักศึกษา..........................คน • 7. สัดส่วน อาจารย์ : นักศึกษา คือ ................ : …………… • 8. จำนวนผลงานวิจัย และผลงานทางวิชาการ.....................ชิ้น / ปี • 9. ผลประเมิน IQA # คะแนนที่ได้........................... # ระดับคุณภาพ........................ • 10. ผลประเมิน EQA# คะแนนที่ได้........................... # ระดับคุณภาพ........................