430 likes | 595 Views
"กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม". โดย รศ.ดร.สุพรรณี ไชยอำพร ดร.คมพล สุวรรณกูฏ. คำสำคัญ (Keyword). สังคม society ทางสังคม social การเฝ้าระวัง surveillance เครือข่ายเฝ้าระวังทางสังคม network. 6 องค์ประกอบของการเฝ้าระวัง.
E N D
"กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม""กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม" โดย รศ.ดร.สุพรรณี ไชยอำพร ดร.คมพล สุวรรณกูฏ
คำสำคัญ (Keyword) • สังคม society • ทางสังคม social • การเฝ้าระวัง surveillance • เครือข่ายเฝ้าระวังทางสังคม network
6 องค์ประกอบของการเฝ้าระวัง • การตรวจหา และการแจ้งเหตุการณ์ที่เฝ้าระวัง • การพิสูจน์ และตรวจยืนยัน (โดยนักระบาดวิทยา นักสังคม หรือผู้เชี่ยวชาญอื่น เช่น นักจิตวิทยา) • การเก็บรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์และแปรผลของข้อมูล • การแนะนำ และการเผยแพร่ผลการเฝ้าระวัง • การตอบสนอง (จัดการ) โดยเชื่อมโยงกับโครงการต่าง ๆ เพื่อการป้องกันและควบคุม
Technical การออกแบบสอบถาม การสุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้สถิติประยุกต์ชั้นสูง การรายงานผล Structural ระบบคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์ ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ท เครือข่ายองค์กรและชุมชน บุคคลากรที่เชี่ยวชาญ. การสนับสนุนทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง สองปัจจัยที่สำคัญในการเฝ้าระวัง
ปรัชญาของการดำเนินงานของชุมชนปรัชญาของการดำเนินงานของชุมชน Collective Personality Society Self-reliance (SR.) Dealination People Participation (PP.) Aspiration Frontier Consciousness Gap
หลักการ Community Organization • Well-trained :ได้รับการอบรมอย่างดีเยี่ยม • Ground Work/Legged Work: ลงสำรวจ • Root Problem: รู้ปัญหารากเหง้า • Identify Enemy :ระบุต้นเหตุปัญหา • Action-reflection :ลงปฏิบัติ • Establish :ตั้งคณะทำงาน/กรรมการ
สำรวจ People ประชาชน พื้นที่/ประเด็น ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล Identification Model การปฏิบัติ Networking สรุปประสบการณ์/ประเมินผล Public เชื่อมประสาน PeopleOrganization Policy ขั้นตอนการสร้างเครือข่าย Conceptualization
แนวคิดการเสริมสรางศักยภาพชุมชน (Capacity building) การเสริมสรางศักยภาพชุมชน ปจจุบันนับเปนยุทธศาสตรที่สําคัญในการดําเนินงานดานพัฒนาตางๆ ปจจุบัน “การเสริมสรางศักยภาพ” สามารถพบไดโดยทั่วไปในเอกสารระดับนโยบาย แผนงาน ตลอดจนถึงระดับโครงการ เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงานแผนงาน โครงการใดๆ ที่เกี่ยวของกับชุมชน โดยเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวม (Community participation) หรือเสริมสรางสถานการณ (Building environment) ใหชุมชนดําเนินการกิจกรรมการพัฒนาและการแกปญหาในชุมชนเอง
นิยามศัพท์ CIDA (1996) ซึ่งไดใหความหมายวา การเสริมสรางศักยภาพ คือ กระบวนการซึ่งปจเจก กลุมคน สถาบัน องคกร และสังคม รวมกันสงเสริมการใชความรูความสามารถตนเองในการวิเคราะห และกําหนดแนวทางการพัฒนาในลักษณะที่แสดงใหเห็นความยั่งยืน
นิยามศัพท์ • การเสริมสรางศักยภาพ (Capacity building) ปจจุบัน UNDP (1997) ไดปรับกระบวนทัศนและพยายามเปลี่ยนมาใชคําวา การพัฒนาศักยภาพ (Capacity development) แทน ซึ่ง UNDP ไดใหคําจํากัดความวา คือ กระบวนการที่ปจเจก กลุมคน องคกร สถาบัน และสังคม เพิ่มศักยภาพตนเองดาน • ปฏิบัติหนาที่หลักในแกปญหา กําหนดปญหา และบรรลุวัตถุประสงคได • เขาใจและจัดการความตองการกิจกรรมการพัฒนา (Community development needs) ครอบคลุมหลายมิติไดและเปนไปอยางยั่งยืน ซึ่งการพัฒนาศักยภาพนี้ มี ความหมายแสดงนัยของกระบวนการที่พัฒนา • อยางตอเนื่อง (On-going process) ภายใตศักยภาพของชุมชนและสังคมที่มีอยู มากกวาการสรางศักยภาพใหเกิดขึ้นใหมในชุมชนนั้น
วัตถุประสงคการเสริมสรางศักยภาพชุมชนวัตถุประสงคการเสริมสรางศักยภาพชุมชน Charity Commission for England and Wales (2003) ไดระบุวัตถุประสงคการเสริมสรางศักยภาพชุมชนไวสองประการ คือ • เพื่อเปดโอกาสใหชุมชนไดเรียนรูผานประสบการณตนเอง เปนสถานการณที่เปดโอกาสใหชุมชนที่ไมเคยไดรับมากอน • ชุมชนมีสวนดําเนินการรวมกัน (Collective effort) ซึ่งเปนการสรางความเชื่อมั่นใหชุมชนเองภายใตความสามารถตนเอง และความสามารถที่จะมีอิทธิพลตอกระบวนการ ตัดสินใจที่มีผลกระทบตอชุมชนนั้น
การเสริมสรางศักยภาพชุมชน (Community capacity building) มีความเชื่อมโยงกับการพัฒนานโยบายสาธารณะ (Public policy development) Health Canada (2000) ซึ่งเปนองคกรดานสาธารณสุขที่มีประสบการณการวิจัยและพัฒนาการใชแนวคิดยุทธศาสตรการเสริมสรางศักยภาพชุมชนเพื่อการนําไปสูการพัฒนานโยบายสาธารณะจากฐานลาง โดยการสงเสริมพลังอํานาจประชาชนสรางกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะทางขวาง (Horizontal policy process) โดยการสรางศักยภาพ ใหปจเจก กลุมชน และระบบเพื่อพัฒนานโยบาย ซึ่งถือเปนแนวคิดที่เปลี่ยนจากประชาพิจารณจากการหารือกับชุมชน (Consultation) มาเปนรวมกันกําหนดนโยบาย (Collaboration) ในลักษณะใหความสําคัญของทุกกลุมชนในสังคมอยางเทาเทียมกัน
หนึ่งในแนวทางพัฒนาที่ก่อให้เกิดความสมดุล และยั่งยืน ภายใต้บริบทของสังคมไทย คือ การสร้างความมั่นคงของมนุษย์ โดยวิธีการใช้การระดมพลังทางสังคม หรือ ทุนทางสังคม (Social Capital)“ทุนทางสังคม” จึงเป็นทางเลือกที่สำคัญ ที่สามารถแก้ไขปัญหา และก่อให้เกิดการพัฒนาที่สามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งยังป้องกันการต่อรองที่ไม่เป็นธรรม อันจะเป็นผลดีกับเศรษฐกิจโดยรวม และสังคมในท้ายที่สุด เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่แจ่มชัดในการร่วมกันวิเคราะห์วินิจฉัย และเปิดมุมมองใหม่ร่วมกันอย่างจริงจังในการผลักดันขับเคลื่อนขบวนการพัฒนาสังคมไทย ในแนวทางการพึ่งตนเองจากการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงของชุมชนในระดับรากหญ้า (Grass Root) ให้บังเกิดผลจริงจัง
“คน” เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญ คือเมื่อเวลาผ่านไป แทนที่จะเสื่อมค่าทั้งหมด กลับมักจะพบว่ายิ่งเพิ่มพูนคุณค่าเพราะยิ่งทำก็ยิ่งมีประสบการณ์ โดยเฉพาะถ้าหากมีการจัดการฝึกอบรม เรียนรู้ ถ่ายทอด พัฒนาคน พัฒนาสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ให้ดียิ่งขึ้น ก็จะเพิ่มพูนทักษะความสามารถในการดำเนินการหรือทำการผลิต / บริการได้ดียิ่งขึ้น เมื่อบุคคลยังสามารถเพิ่มพูนได้ในระดับแต่ละปัจเจก รวมทั้งมีความมั่นคงในชีวิตย่อมส่งผลดีต่อปัจจัยการจัดการตลอดจนผลสำเร็จของงาน • หากเป็นระดับกลุ่มคนก็น่าจะยิ่งเพิ่มพลัง เฉกเช่นสัตว์ทั้งหลายที่อยู่เป็นกลุ่ม เป็นฝูง ย่อมมีโอกาสรอดชีวิตมากกว่าอยู่เดี่ยว ๆ ดังนั้น การที่ผู้คนมาอยู่ร่วมกัน และต่างมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ยิ่งทำให้กลุ่มองค์กรเข้มแข็ง คนอยู่รวมกลุ่ม และมีสัมพันธภาพที่ดี คือ ช่วยเหลือ เอื้ออาทร ผูกพันกับกลุ่ม กับท้องถิ่น กับองค์กร ย่อมก่อให้เกิดผลอย่างน้อย ๆ 4 ประการคือ • ก่อให้เกิดความรู้สึกมั่นคง และปลอดภัย • การอยู่ร่วมกันสามารถช่วยแบ่งความทุกข์ หรือระบายทุกข์ ทำให้มีความสุขขึ้น • คนอยู่เป็นกลุ่มสามารถทำในสิ่งที่คน ๆ เดียวทำได้ยากหรืออาจทำไม่ได้ คือ • กลุ่มคนทำอะไรสำเร็จได้โดยง่าย และมีประสิทธิภาพกว่า • การรวมกลุ่มทำให้เกิดภาวะยั่งยืนของกลุ่ม องค์กร และสังคม
ความหมาย ประเวศ วะสี (2541) : ทุนทางสังคม = ความเป็น กลุ่มก้อนทางสังคม การมีการศึกษาดี การมีวัฒนธรรม การมีความซื่อสัตย์สุจริต การมีความรับผิดชอบต่อส่วนร่วม การมีประสิทธิภาพในการทำงาน การมีการเมืองและระบบราชการที่ดี
ความหมาย ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม (2542) : ทุนทางสังคม หมายถึง ความเข้มแข็งของชุมชม ท้องถิ่น ความสามัคคี รวมพลัง มีหน่วยที่จะจัดการ จัดระบบต่างๆ ของชุมชน มีศิลปวัฒนธรรม มีจุดรวมใจ มีศีลธรรม มีจิตวิญญาณสังคม
ความหมาย ชาติชาย ณ เชียงใหม่ (2543) : ทุนทางสังคมหมายถึง สถาบันทางสังคม และรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมที่มีอยู่ในแต่ละชุมชนชนบทที่ทำหน้าที่ จัดระเบียบความสัมพันธ์ ให้ความชอบธรรม แก่แบบแผนของการจัดสรรแลกเปลี่ยนทรัพยากร
ความหมายทุนทางสังคม • ทุนทางสังคม เน้นที่รูปแบบของความสัมพันธ์ที่มี อยู่ในกลุ่มสังคม โดยเฉพาะชนบท ตั้งแต่ในครอบครัว ขยายจนถึงกลุ่มเพื่อน กลุ่มอาชีพ และกลุ่มต่าง ๆ ใน ชุมชนในสังคมที่ต่างมุ่งมั่นเพื่อส่วนรวมร่วมกัน เอื้ออาทรช่วยเหลือ ร่วมมือกัน ในการจัดดำเนินการต่างๆ ในชีวิต และสังคมตน
รูปแบบทุนทางสังคม • 1) ระดับบุคคล : รูปแบบเน้นต่างตอบแทน ความไว้ • เนื้อเชื่อใจ ในการเชื่อมโยงในสังคม • 2) ในระดับครอบครัว : รูปแบบเช่นเดียวกับในระดับบุคคล • แต่สัมพันธภาพ จะเต็มด้วยความไว้ • เนื้อเชื่อใจสูง เอื้ออาทรสูง ผูกพันสูง • ระดับกลุ่ม/องค์กร : รูปแบบการร่วมมือจัดการ การมีส่วนร่วมและปฏิสัมพันธ์กัน • 4) ระดับชุมชน : รูปแบบเหมือนระดับกลุ่ม/องค์กร • 5) ระดับประเทศ : ไม่แน่นแฟ้นเช่น 4 ระดับข้างบน • แต่ยึดโยง ด้วยความเหมือนกัน
ความสัมพันธ์ของความมั่นคงของมนุษย์และทุนทางสังคมความสัมพันธ์ของความมั่นคงของมนุษย์และทุนทางสังคม ความมั่นคงของมนุษย์ ช่วยเหลือ / ประกัน / ป้องกัน / พัฒนาบุคคล ให้สามารถอยู่และดำเนินในชีวิตอย่างเข้มแข็งและสมศักดิ์ศรี ทุนทางสังคม รวมกันในสังคมทุกระดับ ด้วยจิตใจผูกพัน เอื้ออาทร ความมั่นคงของมนุษย์ ทุนทางสังคม
แนวคิดเครือขายความสัมพันธทางสังคมแนวคิดเครือขายความสัมพันธทางสังคม ความสัมพันธของบุคคลกลุมใดกลุมหนึ่งที่จะมีสวนรวมคิดคน ตัดสินใจและดําเนินการแกปญหาไดนั้น จะตองมีปฏิสัมพันธ ระหวางกันและกัน ดวยการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องสวนรวม ถามีปฏิสัมพันธที่ดีจะกอใหเกิดความผูกพันของกลุมที่จะดําเนินไปใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการ และ กลุมบุคคลก็จะเปนเครือขายสัมพันธ ในการติดตอ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันตลอดเวลา ซึ่งเรียกวา “เครือขายทางสังคม”
นิยามศัพท์ อคิน รพีพัฒน อธิบายวา สังคมที่ลักษณะเปนเครือขายคลายใยแมงมุม บุคคล คือ จุดที่เสนใยของเครือขายมาพบกันกลาวคือ บุคคล คนหนึ่งย่อมมีความสัมพันธกับคนอีกเปนจํานวนมากในหลายรูปลักษณะ และสถานการณที่บุคคล มีเสนโยงความสัมพันธกวางขวางทั้งใน และนอกหมูบาน ยอมมีความสําคัญ ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงใน หมูบานมากกวาคนอื่น ๆ ที่มีเสนสายความสัมพันธเชื่อมโยงกับคนอื่น ๆ จํานวนนอย
นิยามศัพท์ ชาติชาย ณ เชียงใหม ไดอธิบายวา เครือขายสังคมเปนความสัมพันธทางสังคมทั้งหมดของคนในสังคมที่กลุมบุคคลมีตอกัน โดยคุณลักษณะของความสัมพันธที่เกิดขึ้นสามารถนํามาใชอธิบายพฤติกรรมของบุคคลเหลานี้ เครือขายสังคมนี้ประกอบดวย ความสัมพันธทางสังคมทั้งหมด การเรียนรูของบุคคล หรือกลุมองคกรใดก็ตามยอมสัมพันธในฐานของบุคคลหรือองคกรที่มีปญหา มีกิจกรรมที่ปฏิบัติทางสังคมรวมกัน ที่ทําใหชุมชนสามารถดํารงอยูได
ขอบเขตของเครือขายสังคมขอบเขตของเครือขายสังคม กําหนดขอบเขตของเครือขายสังคม โดยอาศัยระหวางทางสังคม เปนเกณฑในการแบงเครือขายบุคคล ประกอบดวยปริมณฑลที่สําคัญอยางนอย 3 ปริมณฑลดวยกันคือ • ปริมณฑลแรก ควรประกอบดวยบุคคลตาง ๆ ที่ใกลชิดกับบุคคลที่เปนศูนยกลางมากที่สุด อันไดแก ญาติพี่นอง เพื่อนฝูง ซึ่งเรียกกวาเปนเครือขายใกลชิด • ปริมณฑลที่สอง ไดแก เครือขายรอง ซึ่งประกอบไปดวยบุคคลตาง ๆ ที่บุคคลซึ่งเปนศูนยกลางรูจักคุนเคยนอยกวา กลุมแรก กลุมนี้มัก ไดแก ญาติพี่นองหาง ๆ กันออกไป เพื่อนฝูง และคนที่รูจักคุนเคย • ปริมณฑลที่สาม ไดแก กลุมบุคคลซึ่งบุคคลที่เปนศูนยกลางไมรูจักโดยตรง แตสามารถติดตอสัมพันธดวยไดถาตองการ โดย ผานเครือขายใกลชิด อีกที่หนึ่ง ซึ่งเรียกวา เครือขายขยาย
“บอกเล่าเรื่องการสร้างเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม"“บอกเล่าเรื่องการสร้างเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม" โดย รศ.ดร.สุพรรณี ไชยอำพร ดร.คมพล สุวรรณกูฏ
Ex.แนวทางการจัดรายงานโรคที่สำคัญที่ต้องรายงานทางระบาดวิทยาที่สำคัญEx.แนวทางการจัดรายงานโรคที่สำคัญที่ต้องรายงานทางระบาดวิทยาที่สำคัญ • จากสถานการณ์การเกิดโรคภัยไข้เจ็บที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะปัญหา โรคติดเชื้อที่เกิดขึ้นใหม่ และโรค ที่กลับมามีปัญหาอีกในปัจจุบัน ได้ก่อให้เกิดปัญหามากมายต่อประเทศไทย ส่งผลกระทบทั้งในด้านสาธารณสุข สังคม และเศรษฐกิจ ดังนั้น เพื่อให้ได้ข้อมูลการเกิดโรคที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ สามารถวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพื่อนำไปสู่กระบวน การตัดสินใจ ในการกำหนดนโยบาย หรือ มาตรการป้องกันควบคุมโรคที่ทันท่วงที สำนักระบาดวิทยา จึงทบทวน การจัดเรียงลำดับ ความสำคัญของโรค/ภัยสุขภาพที่จำเป็น จะต้องมีการเฝ้าระวังและรายงานอย่างรวดเร็ว โดยใช้ข้อมูลโรคที่กำลังเป็นปัญหาในปัจจุบัน นโยบายรัฐบาล และโรคที่กระทรวงกำหนดตามพระราชบัญญัติ โรคติดต่อ มาเป็นแนวทางในการพิจารณา • วัตถุประสงค์1. เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง และรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ สามารถวิเคราะห์และรายงานสถานการณ์โรคที่สำคัญต่อผู้บริหารสาธารณสุขทุกระดับ ให้ได้รับทราบสถานการณ์โรคที่เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเฝ้าระวังโรค ในการวางแผนและควบคุมโรคในพื้นที่ทุกระดับ • โรคที่มีลำดับความสำคัญสูง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม1. กลุ่มที่ต้องรายงานถึงสำนักระบาดวิทยาภายใน 24 ชั่วโมง2. กลุ่มที่ต้องรายงานถึงสำนักระบาดวิทยาภายใน 1 สัปดาห์
ตารางที่ 2 โรคที่มีลำดับความสำคัญสูงที่ต้องรายงานถึงสำนักระบาดวิทยาภายใน 1 สัปดาห์ แบบรายงานที่ใช้1. แบบรายงาน SARS12. แบบ E1 สำหรับผู้ป่วย Severe diarrhoea3. แบบ E2 สำหรับผู้ป่วยไข้เลือดออก4. แบบรายงาน 506 หรือ E1 (กรณีผู้ป่วยเป็นกลุ่ม)5. แบบรายงานผู้ป่วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังที่สำคัญ ประจำสัปดาห์ตามวันรับรักษา
คำนิยามสำหรับผู้ป่วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังที่สำคัญปี 25471. ให้ใช้นิยามตามคู่มือ นิยามโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย ปี 25462. ปอดบวมสงสัย SARS ใช้นิยามตามรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์: ฉบับผนวก:ปีที่ 34 ฉบับ 2s:กรกฎาคม 2546 วิธีการจัดทำรายงาน1. โรคตามตารางที่ 1 ให้รายงานถึงสำนักระบาดวิทยา ทันที หรือภายใน 24 ชั่วโมงนับแต่พบผู้ป่วยเข้าตามนิยามการ เฝ้าระวัง โดยทางโทรศัพท์ หมายเลข 0-2590-1876, 0-2590-1886, 0-2590-1882 หรือทาง โทรสาร หมายเลข 0-2590-1874, 0-2591-8579, 0-2590-1730 โดยใช้รูปแบบรายงาน 506, SARS1, E1 (ไม่ใช่เป็นการดึงข้อมูลจาก electronic file นอกจากว่า ข้อมูลใน electronic file จะเป็นข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน)2. โรคตามตารางที่ 2 ใช้แบบรายงานผู้ป่วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังที่สำคัญ ปี 2547 ประจำสัปดาห์ ตามวันรับรักษา ให้เก็บรวบรวมข้อมูลจำนวนผู้ป่วย-ตายรายสัปดาห์ ตั้งแต่วันอาทิตย์-วันเสาร์ ในสัปดาห์นั้น ๆ และใช้แบบ E2 ในกรณีไข้เลือดออก 3. ผู้ป่วยปอดบวมที่ต้องเข้ารับรักษาในโรงพยาบาล ขอให้รายงานเป็นจำนวนผู้ป่วย/ตายทั้งหมดภายในสัปดาห์นั้น (ให้เป็นปัจจุบัน โดยขอให้ทางโรงพยาบาลรวบรวมข้อมูลจากงานเวชสถิติ)4. ขอให้มีการรวบรวม และติดตาม วิเคราะห์ข้อมูลที่จัดส่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด โดยเฉพาะระยะเวลา ตั้งแต่ เริ่มป่วย -รายงานถึงสำนักระบาดวิทยา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องทันเวลา5. หากมีข้อสงสัย ติดต่อสอบถามได้ที่กลุ่มเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา โทรศัพท์หมายเลข 0-2 590 -1876 หรือ 0-2590-1886 หรือ 0-2590-1882
ผลที่คาดว่าจะได้รับ1. หน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด ทราบสถานการณ์การเกิดโรคในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว สามารถวางแผนในการ เฝ้าระวัง และกำหนดมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทันต่อเหตุการณ์2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และประชาชน ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดโรคต่าง ๆ ที่สำคัญ เพื่อป้องกันการตื่น ตระหนก3. ผู้บริหารสาธารณสุขในส่วนกลางได้รับข้อมูลที่ถูกต้องรวดเร็ว สามารถใช้วางแผนรับสถานการณ์ และกำหนดนโยบาย/มาตรการการป้องกันควบคุมโรคที่ทันท่วงที รายงานโดย สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
รายงานผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การควบคุมตัวยาและสารเคมีผ่านทาง Internet
The surveillance loop Community system Surveillance centre Data Information Event Action Reporting Feedback, recommendations
เครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม : กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก
บริบทชุมชนพิษณุโลกพัฒนาบริบทชุมชนพิษณุโลกพัฒนา • ชุมชนเกิดใหม่ ประมาณปีพ.ศ.2538 • มีความพร้อมในเชิงระบบ “ชุมชนย่อยเทศบาล” • มีความรักผูกพัน... ลำบากด้วยกัน • มีการร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนา... SML ฯลฯ • ผู้นำทุ่มเท/มีความเสียสละ... มีกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ • มีประสบการณ์ในการฟันฝ่าอุปสรรคร่วมกัน... การตัดถนน
ขั้นสำรวจปัญหา สำรวจข้อมูลตามวิถีการดำเนินชีวิต • เดินชวนคุยตามคุ้มบ้าน... ถางหญ้าตามซอยต่างๆ • มาพบปะคุยกัน... บ้านใครมีปัญหา • ภรรยาผู้นำมีบทบาทสำคัญ มีความเต็มใจ... ร้านขายของชำ
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลตามวิถีการดำเนินชีวิต • อาศัยความรู้สึก... ส่วนบุคคล • หลายคนรู้สึก... โดยการพูดคุย • ปัญหาเริ่มรุกราม • อภิปราย/แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน • จำแนกแยกแยะ/ระบุประเด็นปัญหา (Identification)
ขั้นปฏิบัติ แก้ไขปัญหาตามวิถีการดำเนินชีวิต & กฎเกณฑ์บ้านเมือง • ผู้นำทุมเท... เอาจริง/จริงจัง เช่น การทะเลาะวิวาทของสามีภรรยา/วัยรุ่น • คนในชุมชนร่วมกันแก้ไข... เช่น บ้านเช่ายาเสพติด มอเตอร์ไซค์เสียงดังตามถึงบ้าน การรุกล้ำที่สาธารณะ ปัญหาเด็กยากจน ฯลฯ • เสริมสร้างความผูกพัน เช่น พิธีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่
ขั้นสรุปและประเมินผล ประเมินผลตามวิถีการดำเนินชีวิต • สรุปที่ตัวบุคคล... ไม่มีการถ่ายทอดอย่างเป็นระบบ เช่น ย้ายออกจากชุมชน เจรจาขอความร่วมมือกับร้านดัดแปลงรถมอเตอร์ไซค์ • มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ เช่น ผู้นำชุมชน กรรมการ • การประกวดกระทงพืชผักสวนครัว – ครู ชาวบ้าน ผู้นำ • กำหนดเป็นมาตรการ/กฎเกณฑ์ของชุมชน
ขั้นเชื่อมประสาน สร้างเครือข่ายตามวิถีการดำเนินชีวิต • เริ่มต้นด้วยจิตสำนึก-Motive • เพื่อนช่วยเพื่อน... บอกกล่าวการเคลื่อนย้ายของผู้ต้องสงสัย
สำรวจ People ประชาชน พื้นที่/ประเด็น ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล Identification Model การปฏิบัติ Networking สรุปประสบการณ์/ประเมินผล Public เชื่อมประสาน PeopleOrganization Policy การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทางสังคม กลไกภาครัฐ People Participation Conceptualization ภาคประชาชน/ประชาสังคม