300 likes | 401 Views
การนำร้านยาเข้าสู่หลักประกันสุขภาพ. สภาเภสัชกรรม กันยายน 2552. outline. แนวคิด ศักยภาพของร้านยา Benefit package การเบิกจ่าย. แนวคิด. ภาระงานของเภสัชกรโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมาก ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโดยเฉพาะค่ายามีสัดส่วนสูง ขาดการดูแลให้ผู้ป่วยมีการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพ
E N D
การนำร้านยาเข้าสู่หลักประกันสุขภาพการนำร้านยาเข้าสู่หลักประกันสุขภาพ • สภาเภสัชกรรม • กันยายน 2552
outline • แนวคิด • ศักยภาพของร้านยา • Benefit package • การเบิกจ่าย
แนวคิด • ภาระงานของเภสัชกรโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมาก • ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโดยเฉพาะค่ายามีสัดส่วนสูง • ขาดการดูแลให้ผู้ป่วยมีการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพ • งานเภสัชกรรมชุมชนช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ยา
ข้อมูลสนับสนุนแนวคิด (1) • ภาระงานของโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมาก • คนไข้นอก 53.42% • แออัดและบริการแบบตั้งรับ • ขาดการดูแลอย่างต่อเนื่อง • PCU ขาดเภสัชกร • 28.19% มีเภสัชกร <4 ชั่วโมง/สัปดาห์ • 44 % ต้องปรับปรุง • คนไข้ใน(ภาระกิจหลัก) 20.68%
ข้อมูลสนับสนุนแนวคิด (1) • ภาระงานของโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมาก • คนไข้ใน(ภาระกิจหลัก) 20.68% • การดูแลการใช้ยา (ข้างเตียง/บนหอผู้ป่วย) ยังไม่ทั่วถึง / ทำได้น้อย • จำนวนเภสัชกรยังไม่เพียงพอ
ข้อมูลสนับสนุนแนวคิด (1) • ภาระงานของโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมาก • ขาดการบริการเชิงรุก • 50% ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ทราบว่าป่วย • การคัดกรองในร้านยาพบผู้ป่่วยรายใหม่ และกลุ่มเสี่ยงสูง 79.5% ในชุมชน • ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีอัตรารับการรักษาต่ำ • > 50% คิดว่าไม่ป่วย
ข้อมูลสนับสนุนนแนวคิด (2) • ค่าใช้จ่ายด้านยามีสัดส่วนสูง • >50% ของค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก • 72-76% สำหรับเบาหวาน= 5.3 - 5.8 เท่าของผู้ป่วยทั่วไป • 20% ของค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน • 25 - 27% สำหรับเบาหวาน
ข้อมูลสนับสนุนนแนวคิด (2) • ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยเบาหวาน • DM only 11,244 ฿ • DM + comorbid 13,268 ฿ • DM + microvascular 23,379 ฿ • DM + macrovascular 51,671 ฿ • DM + micro-macrovascular 64,440 ฿ • + Hemodialysis/Peritoneal dialysis +250,000 ฿
ข้อมูลสนับสนุนนแนวคิด (3) • การใช้ยาของผู้ป่วยขาดประสิทธิภาพ • อัตราความไม่ร่วมมือในการใช้ยาสูง • โรคเรื้อร้ง 7-63% • ปัญหาด้านร่างกาย เช่น สายตา / ไม่มีผู้ดูแล • อ่านไม่ออก / ความสามารถในการรับรู้ • ขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องโรและยา • ต้องใช้ยาหลายรายการ/การใช้ยาเทคนิคพิเศษ • อาการไม่พึงประสงค์ • ความเชื่อในประสิทธิผลของยา • การสื่อสารระหว่างแพทย์ เภสัชกร และผู้ป่วย
ข้อมูลสนับสนุนนแนวคิด (3) • การใช้ยาของผู้ป่วยขาดประสิทธิภาพ • การรักษาไม่ได้ผล และนำไปสู่ค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น • ระยะสั้น • ผู้ป่วยที่ไม่ร่วมมือในการใช้ยามีความเสี่ยงในการ admit เพิ่มขึ้น 2.53 เท่า • ระยะยาว • ภาวะการทำงานของอวัยวะล้มเหลวถาวร เช่น ไตวาย
ข้อมูลสนับสนุนแนวคิด (4) • งานเภสัชกรรมชุมชนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ยา • เพิ่ม accessibility เนื่องจากร้านยาสามารถเข้าถึงง่าย • 55% utilization rate • เพ่ิม efficiency เนื่องจาก ขั้นตอนน้อย สะดวก • 90% Satisfaction
ข้อมูลสนับสนุนแนวคิด (4) • งานเภสัชกรรมชุมชนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ยา • เพิ่ม continuity เนื่องจากสามารถดูแลได้ใกล้ชิด ทั้งครอบครัว • เพิ่ม quality เนื่องจากเข้าใจพฤติกรรมและความต้องการ • เภสัชกรชุมชนสามารถปรับพฤิตกรรมเพื่อให้ภาวะสุขภาพกลับสู่ปกติ 37 - 75 % • Pre-HT ปรับเข้าสู่ ภาวะระดับความดันปกติ 37% • Pre-DM ปรับเข้าสู่ ภาวะระดับนำ้ตาลปกติ 75%
Providing Medication Therapy Management (MTM) Dispensing Self- medication Pharmacy Network Management สปสช Refilling chronic Rx Promoting health Screening diseases Dispensing Rx PCU Hospital Others Proposed Model
Pharmacy Remuneration System • Product and patient orientation • Dispensing • Product cost + dispensing fee • Medication Therapy Management (MTM) • Capitation • Fee-for-service • Performance based
Pharmacy Remuneration System • Single and multiple range of services • Bundling vs unbundling • Screening • refilling • MTM
Product + Service Product + Service Product + Service Product + Service สปสช Screening and preventing diseases Pharmacy Network Management Dispensing self- medication Providing pharmaceutical care Dispensing Rx Refilling chronic Rx Promoting health Service Service Range of pharmacy Services
Pharmacy Benefit Package for Chronic Disease • Early detection of chronic patients (screening) • เน้นการคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และส่งต่อผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง • Prompt Rx of chronic patients (refilling) • เน้นความต่อเนื่องในการรักษาพยาบาล โดยติดตามให้ได้รับยาต่อเนื่องและตรงเวลา • Improve quality of chronic patients (Medication Therapy Management--MTM) • เน้นการเพิ่มคุณภาพการใช้ยาโดยกระบวนการ MTM
Screening and Prevention Model • Service • Annual screening and profiling • Annual reminding old cases • Initiating new cases • Eligibility • Registration • Financial reimbursement • Fixed rate per patient per year • 75 - 100 baht
Refilling Model • Service • Preparation/Refilling • Profiling • Reminding next MD / R.Ph. visit • Compliance monitoring
Refilling Model • Eligibility • Referred case by MD • Patient registration • Financial reimbursement • Drug cost + refilling fee per case per visit • Drug cost + 50 baht
Quality of Drug Use Model • Service • Medication Therapy Management • Medication Therapy Review Review • Personal Medication Record Report • Medication-Related Action Plan Recipe • Monitoring and Intervention Response • Referral Refer • Document and follow-up Record
Quality of Drug Use Model • Eligibility • Referred by MD • Patient registration • Financial reimbursement • ปัจจุบันเยี่ยมบ้าน 800 บาท/ครั้ง
Pharmacy Network Management Pharmacy Pharmacy Pharmacy Pharmacy Pharmacy Pharmacy Pharmacy Network Model
Pharmacy Network Management งบประมาณ และการเบิกจ่าย พัฒนา benefit package ควบคุมค่าใช้จ่าย ประกันคุณภาพ พัฒนาเครือข่าย สร้างมาตรการ ควบคุมค่าใชจ่าย บริหารจัดการเครือข่าย เชื่อมต่อเข้าสู่ระบบ เชื่อมต่อระบบ พัฒนามาตรฐาน ประเมินคุณภาพ พัฒนาคุณภาพ ขยายเครือข่าย บริหารและประเมินผล Pharmacy Network Function
บทบาท 1 พัฒนาเครือข่าย • ขยายเครือข่ายร้านยาให้สามารถครอบคลุมพื้นที่ให้บริการได้อย่างพอเพียง • พัฒนาคุณภาพและบริการของร้านยาในเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง • Mapping ร้านยาในแต่ละพื้นที่และสถานพยาบาลเพื่อสนับสนุนงานบริการผู้ป่วย • พัฒนาความเชี่ยวชาญของเภสัชกรชุมชนเพื่อรองรับงานบริบาลเฉพาะทาง • พัฒนาระบบสนับสนุนเพื่อรองรับการพัฒนาร้านยาในเครือข่าย
บทบาท 2 ประกันคุณภาพ • สร้างมาตรฐานงานบริการ • พัฒนาระบบประกันคุณภาพการให้บริการภายใต้เครือข่าย • ดำเนินการประเมินคุณภาพ และผลการให้บริการของร้านยาภายใต้เครือข่าย • พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการประเมินการให้บริการ • สร้างระบบ information feedback
บทบาท 3 ควบคุมค่าใช้จ่าย • พัฒนาระบบและกลไกการจ่ายค่าตอบแทน • พัฒนามาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยาและเภสัชกรรมบริการ • ตรวจสอบและประเมินค่าใช้จ่ายด้านยา • วิเคราะห์และประเมินต้นทุน
บทบาท 4 การเชื่อมต่อกับระบบสุขภาพ • ดำเนินการนำเครือข่ายเชื่อมต่อกับระบบประกันสุขภาพในพื้นที่และ/หรือโครงการประกันสุขภาพต่างๆ • พัฒนา benefit package ให้เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละพื้นที่และโครงการ • ดำเนินการเชื่อมต่อกับสถานบริการระดับต่างๆเพื่อให้เกิดการส่งต่อผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ • ประสานงานและทำความเข้าใจพร้อมประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ป่วยและสถานพยาบาลเพื่อให้เกิดการใช้บริการของเครือข่าย
บทบาท 5 การบริหารจัดการเครือข่าย • พัฒนาระบบข้อมูลเพื่องานบริหารและงานบริการ • พัฒนาการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานและภายในเครือข่าย • พัฒนาระบบค่าตอบแทน • ประสานงานกับหน่วยเชื่อมต่อด้านงบประมาณ • ดำเนินการบริหารจัดการการเบิกจ่าย • ประเมินการทำงานของเครือข่าย • ประเมินผลการดำเนินงาน (outcome assessment) ของร้านยาภายใต้เครือข่าย ทั้งด้าน คุณภาพงานบริการ ต้นทุน และความพึงพอใจ
ขอบคุณค่ะ • Q&A