270 likes | 451 Views
บุคลากรในห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ. ประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะ. 1.บุคลากรวิชาชีพ คุณสมบัติ การศึกษาด้านบรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ หรืออื่นๆ ที่ระบุตามแต่ละสถาบัน และการศึกษาเฉพาะสาขาวิชา คุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับการทำงาน ได้แก่. ประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะ.
E N D
บุคลากรในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
ประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะ • 1.บุคลากรวิชาชีพ • คุณสมบัติ • การศึกษาด้านบรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ หรืออื่นๆ ที่ระบุตามแต่ละสถาบัน และการศึกษาเฉพาะสาขาวิชา • คุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับการทำงาน ได้แก่
ประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะ • มีความสามารถและทักษะด้านการบริหารจัดการห้องสมุด • มีความรู้ความสามารถในการจัดบริการสารสนเทศ • มีความกระตือรือร้นในการเป็นผู้นำความรู้สู่การทำงานขององค์กร • มีความรู้และความสนใจสารสนเทศเฉพาะสาขาที่องค์กรสนใจ • มีความสามารถในการสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลากรในองค์กร • มีความสามารถในการลำดับความสำคัญของการให้บริการ • มีความรับผิดชอบ อุตสาหะ มีความยืดหยุ่น
ประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะ • หน้าที่ความรับผิดชอบ • 1. งานเทคนิค • 2. บริการสืบค้นสารสนเทศ • 3. บริการสารสนเทศ • 4. บริการรวบรวมบรรณานุกรมเฉพาะเรื่อง • 5. งานวิเคราะห์และจัดทำสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่กะทัดรัด • 6. งานที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะ • 2. บุคลากรที่ไม่ใช่วิชาชีพ • ผู้ช่วยวิชาชีพ • เจ้าหน้าที่ • หน้าที่ความรับผิดชอบ ทำหน้าที่อื่นๆ ที่ไม่ต้องใช้ความรู้ทางวิชาชีพเพื่อช่วยให้งานสำเร็จไปด้วยดี
ประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะประเภทของบุคลากรในห้องสมุดเฉพาะ • คุณสมบัติตามมาตรฐานห้องสมุดเฉพาะ ได้แก่ • เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางพาณิชยกรรม หรือตำแหน่งเจ้าหน้าที่ธุรการต้องมีวุฒิไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ หรือพนักงานธุรการต้องมีวุฒิไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ • เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ต้องมีวุฒิไม่ต่ำกว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพ
การบริหารจัดการบุคลากรห้องสมุดเฉพาะการบริหารจัดการบุคลากรห้องสมุดเฉพาะ • โครงสร้างการบังคับบัญชา • มีสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน • มีความแตกต่างระหว่างสายบังคับบัญชา และสายปฏิบัติงาน • จำนวนบุคลากรตามสายบังคับบัญชาควรมีจำนวนที่เหมาะสม
การบริหารจัดการบุคลากรห้องสมุดเฉพาะการบริหารจัดการบุคลากรห้องสมุดเฉพาะ • จำนวนบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในห้องสมุดเฉพาะ • สำหรับห้องสมุดเฉพาะขนาดเล็ก ประกอบด้วย บุคลากรวิชาชีพ 1 คน และเจ้าหน้าที่ 1 คน ห้องสมุดเฉพาะขนาดใหญ่เพิ่มบุคลากรที่ไม่ใช่วิชาชีพอีก 1 คน หรืออาจมีเพิ่มตามภาระงานของห้องสมุด • ในการว่าจ้างบุคลากรที่ไม่ใช่วิชาชีพ ควรพิจารณาในหลายๆ ด้าน เช่น ภาระงานที่จำเป็น หรือช่วยแบ่งเบาภาระของบุคลากรวิชาชีพ หรืออาจมีการนำเทคโนโลยีมาช่วยในการทำงานได้ หรือการว่าจ้างบริการจากแหล่งภายนอก
การบริหารจัดการบุคลากรห้องสมุดเฉพาะการบริหารจัดการบุคลากรห้องสมุดเฉพาะ • การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากร • หน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากรทั้ง 2 ประเภทควรแยกให้ชัดเจน เพื่อให้ไม่เกิดปัญหาเวลาปฏิบัติงาน • เงินเดือน ผลประโยชน์ และสวัสดิการ • เงินเดือนและผลประโยชน์ต่างๆ ขึ้นกับหน่วยงานที่สังกัด
การแสวงหาบุคลากรวิชาชีพเข้ามาทำงานการแสวงหาบุคลากรวิชาชีพเข้ามาทำงาน • 1. สถาบันการศึกษาด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ • 2. สมาคมวิชาชีพของบรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ • สมาคมห้องสมุดเฉพาะ (SLA) • สมาคมห้องสมุดการแพทย์ • สมาคมห้องสมุดกฎหมายอเมริกัน • สมาคมห้องสมุดอเมริกัน
การพัฒนาความรู้ของบุคลากรวิชาชีพการพัฒนาความรู้ของบุคลากรวิชาชีพ • การพัฒนาความรู้จากภายในองค์กร • การพัฒนาความรู้จากภายนอกองค์กร
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ (Competency) • สมรรถนะ หรือ ความสามารถ (Competency) หมายถึง ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่จำเป็นของบุคคลในการทำงานให้ประสบความสำเร็จ มีผลงานได้ตามเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดหรือสูงกว่า
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • องค์ประกอบของสมรรถนะ 1. ความรู้ (knowledge) 2. ทักษะ (skill) 3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง (self – concept) 4. บุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล (traits) 5. แรงจูงใจ / เจตคติ (motives / attitude)
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • ประเภทของสมรรถนะ 1. สมรรถนะส่วนบุคคล (Personal Competencies) 2 สมรรถนะเฉพาะงาน (Job Competencies) 3. สมรรถนะองค์การ (Organization Competencies) 4. สมรรถนะหลัก (Core Competencies) * 5. สมรรถนะในงาน (Functional Competencies)*
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • การกำหนดสมรรถนะ • วิสัยทัศน์ (vision) • พันธกิจ (mission) • ค่านิยม (values)
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ การวัดสมรรถนะ • ประวัติการทำงานของบุคคล • ผลประเมินการปฏิบัติงาน (performance appraisal) 2.1 ผลการปฏิบัติที่เป็นเนื้องาน (task performance) 2.2 ผลงานการปฏิบัติที่ไม่ใช่เนื้องานแต่เป็นบริบทของเนื้องาน (contextual performance) 2.3 ผลการสัมภาษณ์ (interview) 2.4 ศูนย์ประเมิน (assessment center) 2.5 360 degree feedback
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ การตรวจสอบสมรรถนะ • เป็นพฤติกรรมที่สังเกตได้อธิบายได้ • สามารถลอกเลียนแบบได้ • มีผลกระทบต่อความก้าวหน้าขององค์กร • เป็นพฤติกรรมที่สามารถนำไปใช้ได้หลายสถานการณ์ • เป็นพฤติกรรมที่ต้องเกิดขึ้นบ่อย ๆ
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • สมรรถนะของบรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ • สมรรถนะด้านวิชาชีพ (Professional competency) • สมรรถนะเฉพาะบุคคล (Personal competency)
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • สมรรถนะด้านวิชาชีพ (Professional competency) • มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ • มีความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาเฉพาะด้านที่สอดคล้องกับองค์กร • มีความสามารถในการพัฒนาและการจัดการบริการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ • มีความสามารถในการสอนผู้ใช้ให้เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ • มีความสามารถในการประเมินความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • สมรรถนะด้านวิชาชีพ (Professional competency) • มีความสามารถในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดหา จัดการและเผยแพร่สารสนเทศ • มีความสามารถในการจัดการและดำเนินงานห้องสมุดที่เหมาะสมโดยสอดคล้องกับการบริหารงานขององค์กร • มีความสามารถในการพัฒนาเครื่องมือช่วยค้นและเข้าถึงสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • สมรรถนะด้านวิชาชีพ (Professional competency) • มีความสามารถในการประเมินผลลัพธ์ของการใช้สารสนเทศ • มีความสามารถในการรับรับผิดชอบต่อความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของผู้ใช้ • มีความสามารถในการเป็นสมาชิกที่มีประสิทธิภาพของทีมงานบริหารองค์กรและทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาด้านสารสนเทศขององค์กร
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • สมรรถนะเฉพาะบุคคล (Personal competency) • คำนึงถึงการได้รับมอบหมายหน้าที่ในการให้บริการที่ดีที่สุด • ค้นหาเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ท้าทายและมองหาโอกาสใหม่ในการทำงานทั้งจากภายในและภายนอกห้องสมุด • เป็นผู้มองการณ์ไกล • มีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลและองค์กรที่เกี่ยวข้อง
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • สมรรถนะเฉพาะบุคคล (Personal competency) • สร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันและมีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน • มีทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ • การทำงานเป็นทีม
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ • สมรรถนะเฉพาะบุคคล (Personal competency) • มีความเป็นผู้นำ • ให้ความสำคัญกับการวางแผนการทำงาน • ตระหนักว่าการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นสิ่งสำคัญ • มีทักษะในการทำงานและสร้างโอกาสในการทำงาน • ตระหนักและให้ความสำคัญต่อเครือข่ายวิชาชีพและการพึ่งพาอาศัยกัน • มีความยึดหยุ่นในการทำงาน
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ ตัวอย่างสมรรถนะของบรรณารักษ์ ความรู้ที่จำเป็นในงาน ได้รับปริญญาตรี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางบรรณารักษ์ศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ ความรู้* ความรู้ที่จำเป็นในงาน ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ ทักษะ* ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ทักษะการคำนวณ ทักษะการบริหารจัดการข้อมูล ประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน ไม่ต่ำกว่า 12 ปีในงานที่เกี่ยวข้อง
สมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศสมรรถนะของบุคลากรสารสนเทศ สมรรถนะที่จำเป็นในงาน สมรรถนะหลัก** • การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation - ACH) • บริการที่ดี (Service Mind - SERV) • การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise - EXP) • จริยธรรม (Integrity -ING) • ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork -TW) สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (สำหรับข้าราชการทั่วไป)** • ความยืดหย่นผ่อนปรน (Flexibility - FLX) • ความถูกต้องของงาน (Concern for Order - CO) • การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking - AT) • สภาวะผู้นำ (Leadership - LEAD)
สมรรถนะบรรณารักษ์ในห้องสมุดเฉพาะสาขาต่างๆสมรรถนะบรรณารักษ์ในห้องสมุดเฉพาะสาขาต่างๆ • ให้นักศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับข้อกำหนดด้านสมรรถนะของบรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ในห้องสมุดเฉพาะสาขาต่างๆ เช่น • ห้องสมุดทางด้านวิทยาศาสตร์ • ห้องสมุดทางด้านสังคมศาสตร์ • ห้องสมุดทางด้านมนุษยศาสตร์ • หรืออื่นๆ