900 likes | 1.31k Views
จิตสำนึกประชาธิปไตยสู่ความเป็นพลเมือง ศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า. ความคาดหวัง. ความกลัว. Expectation between the two persons ความคาดหวังที่ต่างกันระหว่างนักการเมืองกับประชาชน ?. Expectation and the real situation
E N D
จิตสำนึกประชาธิปไตยสู่ความเป็นพลเมืองศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน์ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า
ความคาดหวัง ความกลัว
Expectation between the two personsความคาดหวังที่ต่างกันระหว่างนักการเมืองกับประชาชน? Expectation and the real situation ความคาดหวังกับความเป็นจริง
TRUST Vs. MISTRUSTความไว้วางใจ Vs.ความไม่ไว้วางใจ EXPECTATION & BEHAVIOR ความคาดหวัง & พฤติกรรม
นักการเมืองแก้ปัญหาความยากจน หนี้สิ้น เศรษฐกิจ สังคม จราจร ยาเสพติด ความปลอดภัย และความขัดแย้ง หนุ่มนัดสาว สาวนัดหนุ่ม พฤติกรรมที่ต่ำกว่าความคาดหวัง = ความไม่ไว้วางใจ พฤติกรรมที่ตรงกับความคาดหวัง = ความไว้วางใจที่พอรับได้
พฤติกรรมที่ดีเกินความคาดหวัง = ความไว้วางใจที่ยั่งยืน พฤติกรรมที่เกินความคาดหวัง + ความสัมพันธ์ที่เกื้อหนุนกัน = ความไว้วางใจที่จงรักภักดี หนุ่มนัดสาว และมีของมาฝากด้วยมอบแหวน
What and Why How, How to Leader asks What and Why: Doing the right things ทำในสิ่งที่ถูกต้อง Why What Manager asks how and when Doing things right ทำสิ่งนั้นให้ถูกต้อง How When Where
ชุมชนเข้มแข็ง และมีจิตสำนึก นโยบายสาธารณะ บ้าน โรงเรียน ชุมชน สังคม ประเทศ ประชาชนจะเข้าไปมีส่วนร่วมอย่างไรได้บ้าง ประชาธิปไตย 8
แนวคิดของความเป็นพลเมือง“จิตสำนึก” “สาธารณะ” “การมีส่วนร่วม”เริ่มต้นจากตัวเอง ขยายต่อชุมชน และสังคมเพื่อให้เกิดพลเมืองที่เข้มแข็ง มีคุณภาพและเข้ามีส่วนร่วมในชุมชนแล้วเราจะทำอย่างไรได้บ้างต้องร่วมกันทุกคน ไม่สามารถทำได้โดยคนใดคนหนึ่ง มนุษย์ไม่ได้เกิดมาพร้อมกับความเป็นพลเมือง แต่เราสามารถทำให้เกิดความเป็นพลเมืองได้ 9
เราจะเข้าไปมีส่วนร่วมเรื่องอะไรบ้าง“การริเริ่ม เสนอ และกำหนดนโยบายสาธารณะ”?“จังหวัด”?“ชุมชน”?“โรงเรียน”?การให้ความรู้เรื่องกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่าน 6 ขั้นตอน ด้วยการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลข้อเท็จจริงของปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา 10
78 ปีแห่งประชาธิปไตย ประชาธิปไตยคืออะไร?พื้นฐานความรู้ความเข้าใจ?เป้าหมายที่เราต้องการคืออะไร?
เผด็จการคืออะไร? ผู้มีอำนาจไม่รับฟัง ประชาชนกลัวที่จะพูด ผลลัพธ์: ไม่ไว้วางใจกัน ไม่มีความคิดสร้างสรรค์
ทุกคนเรียกร้องหาประชาธิปไตยทุกคนเรียกร้องหาประชาธิปไตย
ถามว่าประชาธิปไตยเรียกร้องหาพวกเราทุกคนไหมถามว่าประชาธิปไตยเรียกร้องหาพวกเราทุกคนไหม
การศึกษาประสบการณ์วิถีวัฒนธรรม ประเพณีเศรษฐกิจ สังคมการเมือง ฯลฯ
ค่านิยม • ประโยชน์สาธารณะ Public Good • สิทธิบุคคล Individual rights • ความยุติธรรม Justice • ความเสมอภาค Equality • ความหลากหลาย Diversity • ความสัตย์จริง Truth • ความจงรักภักดีแต่ชาติ Patriotism
ความเชื่อพื้นฐานในความแตกต่างของมนุษย์ความเชื่อพื้นฐานในความแตกต่างของมนุษย์ มนุษย์มักจะมองผล ประโยชน์และสิ่งที่ตัวเองสนใจ
มนุษย์มักจะมองผลประโยชน์มนุษย์มักจะมองผลประโยชน์ และสิ่งที่ตัวเองสนใจ
เหตุใด?ทำไม?ต้องสร้างจิตสำนึกพลเมืองเหตุใด?ทำไม?ต้องสร้างจิตสำนึกพลเมือง
ทำไมต้องสร้างจิตสำนึกพลเมือง/ เป้าหมายประชาธิปไตยคืออะไร ทำอย่างไร ความยุติธรรม สิทธิเสรีภาพ อำนาจหน้าที่ความเป็นส่วนตัว เป็นต้น ความขัดแย้งและความรุนแรง (“ของ”และ “โดย” ไม่ค่อยมีปัญหาแต่ “เพื่อ” ใคร
ทำอย่างไร: ต้องนำหัวใจสำคัญหลักประชาธิปไตยมาใช้? ดูเหมือนง่าย แต่ทำได้อยากที่สุด?
ACTIVE LISTENING การฟังอย่างตั้งใจ การฟังกันและกัน การฟังกับการได้ยิน?
รัฐธรรมนูญฉบับแรก วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 ได้ทรงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พระราชทานเป็นกฎหมายสูงสุดเพื่อเป็นหลักในการปกครองประเทศ รัฐธรรมนูญ "ฉบับแรกอันเป็นฉบับถาวร" ซึ่งมีพระราชดำรัสในวันพระราชทานรัฐธรรมนูญดังนี้ " ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอำนาจอันเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้แก่ ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใด คณะใด โดยเฉพาะเพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาด และโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาราษฎร"
ฟังอย่างตั้งใจทำได้อย่างไรฟังอย่างตั้งใจทำได้อย่างไร
การฟังอย่างตั้งใจเป็นอย่างไรการฟังอย่างตั้งใจเป็นอย่างไร
การฟังอย่างตั้งใจ 1. ไม่พูดขณะฟัง 2. สบตา 3. พยักหน้า , ส่งเสียง เออ! ออ! 4. PARAPHRASING (Substance + Feeling) การกล่าวทวน (เนื้อหาและความรู้สึก) 5. ถามคำถาม / ตอบคำถาม
มุมมองของประชาชนต่อการเมืองมุมมองของประชาชนต่อการเมือง • ถูกขับไล่ให้ออกจากการเมืองโดยผู้ที่เข้ามายึดครองที่ไม่เป็นมิตร • คาดหวังจะเห็นการเมืองที่ดี แต่ผิดหวัง จึงโกรธ ขาดความไว้วางใจ • ผู้แทนที่แท้จริงกับเป็นนักล็อบบี้ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว ไม่ฟังเสียงประชาชน • ประชาชนถูกผลักให้ห่างออกไป • กลายเป็นพลเมืองที่ไร้ซึ่งผู้แทน (ตัดขาดการสื่อสารซึ่งกันและกัน) ถึงทางตัน • การดิ้นรนเพื่อจะกลับเข้ามาใหม่ • การเมืองภาคพลเมือง ความต้องการ “พลเมือง”
ทุกชุมชนและองค์กรต้องมีคน 3 ประเภทเป็นสัจจะธรรม
2475 2485 2495 2505 2535 2545 2555? เราจะปลูกต้นจิตสำนึกอย่างไรให้เจริญงอกงามเสียที?
จิตสำนึกและจิตใต้สำนึกจิตสำนึกและจิตใต้สำนึก จิตใต้สำนึก 90 ส่วน จิตใจที่อยู่เหนือเหตุผล รับข้อมูลมาจากประสบการณ์ จดจำเรื่องดีและไม่ดีไว้ในใจ จนเกิดเป็นนิสัยของแต่ละคน ทำโดยอัตโนมัติไม่ต้องนึกคิด จิตสำนึก 10 ส่วน จิตใจระดับเหตุผล แสดงออกมาโดยพฤติกรรมว่าจะทำหรือไม่ทำ
บทบาทหน้าที่ของพลเมืองต่อการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของพลเมืองต่อการพัฒนาประเทศ สังคมพัฒนา : อย่างมีพลวัตร
ประชาธิปไตยและสังคมที่เป็นธรรม และสันติสุขจะเกิดขึ้นได้อย่างไร ต้องเป็นธรรม มีศักดิ์ศรีความเป็นคน เสมอภาคทางกฎหมายและโอกาส ร่วมแรงร่วมใจ ประโยชน์+สุข ความสำนึก รับผิดชอบ • เคารพหลักการพื้นฐานของประชาธิปไตย เช่น ไฟแดง ต่อแถว จอดรถ จูงหมาไปอี • มีส่วนร่วมในทุกระดับตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน สังคม การเปลี่ยนของประชาชน สู่ความเป็นพลเมือง ต้นทางการปกครองที่ดี การเคารพกฎหมาย และสิทธิ
พลเมืองคือใคร สำคัญอย่างไร
การเมืองภาคพลเมือง (พละ+เมือง)คนที่มีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นคน มีอิสระ มีการรวมตัวกันทำเรื่องดีๆ มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย ในการวางแผนการพัฒนาในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ทั้งนี้ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ ประชาชน People? พลเมือง Citizen สาธารณะ Public? พลเมือง Citizenยึดมั่นในหลักคุณธรรมของความเป็นพลเมือง ปฏิบัติหน้าที่ของพลเมืองตามที่กฎหมายกำหนด ต้องมีคุณธรรมหรือจริยธรรมของความเป็นพลเมือง เช่น มีความซื่อสัตย์ มีวินัย เคารพกฎหมาย ไม่ซื้อสิทธิขายเสียงต้องเข้าใจในเรื่องสิ่งสำคัญเช่นเรื่องสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย เป็นสิทธิตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติ เช่น การเสียภาษี การเป็นทหาร การเลือกตั้ง, ภาคพลเมืองต้องกระตุ้นให้นักการเมืองมีจิตสำนึกสาธารณะคือจะต้องมีจิตใจที่มุ่งถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลักตัดสินการดำรงชีวิตของตนได้เอง สาธารณะ Public?การสร้างความเป็นสาธารณะ? How?
ตระหนักถึงส่วนรวม รู้จักและเคารพสิทธิ หน้าที่ รักษากติกา
รู้ → ไม่สำนึก → ไม่ทำ รู้ → สำนึก → ไม่ทำ ไม่รู้ → ไม่สำนึก →ไม่ทำ รู้ → สำนึก → ทำ ♫
ตารางมาตรวัดความเป็นพลเมืองCitizenship Measure Table
ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองต่อบทบาทความเป็นพลเมืองระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองต่อบทบาทความเป็นพลเมือง ระดับยิ่งสูง ยิ่งมีระดับความเป็นพลเมืองมาก 100% มีส่วนร่วม ปกป้อง รักษา รู้ 0 %
แนวทางการขับเคลื่อนการสร้างสำนึกพลเมืองของ สสม. • ขยายเครือข่าย : เยาวชน (ผ่านศูนย์หรือผู้นำท้องถิ่น) ข้าราชการ • ต่อเนื่องกิจกรรม • โครงการสร้างสำนึกพลเมือง • สร้างหลักสูตร : ผสานชุดความรู้และเครื่องมือ ระเบิดสำนึก พลเมือง • สะสมองค์ความรู้: พลเมือง, การมีส่วนร่วม, สิทธิ, สานเสวนา
แนวทางการระเบิดสำนึกพลเมืองแนวทางการระเบิดสำนึกพลเมือง บอกปัญหา กำหนดความเป็นเจ้าของ สร้างสัญญา แนะนำช่องทาง ลองแฟชั่น ลงมือทำ หวั่นผลกระทบ
กระบวนการกระตุ้นสำนึกพลเมืองกระบวนการกระตุ้นสำนึกพลเมือง tool ความรู้ + ช่องทาง + หนุนเสริม สำนึก input ปัญหา/ความรู้ /ความเข้าใจ/ความ เห็นอกเห็นใจ Output รางวัล/ประโยชน์/ Impactบางอย่าง outcome สำนึกร่วม สำนึกพลเมือง ticker กระตุ้น + ลงมือทำ feedback ผลสะท้อนกลับ
เส้นทางการยกระดับประชาธิปไตยสู่ความเป็นพลเมืองดีเส้นทางการยกระดับประชาธิปไตยสู่ความเป็นพลเมืองดี พลเมืองดี เข้มแข็ง พลเมือง ประชาชน ราษฎร์ ?