1 / 50

การใช้ประโยชน์จาก AEC / AFTA

การใช้ประโยชน์จาก AEC / AFTA. โดย นางสุภาวดี ไชยานุกูลกิตติ นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการพิเศษ วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม 2554 ณ ชลพฤกษ์รีสอร์ท อ.บ้านนา จ.นครนายก. ตลาดส่งออกสำคัญของไทย. มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ. สถานะการเจรจา FTA. ความตกลงที่มีผลใช้บังคับแล้ว. อยู่ระหว่างการเจรจา.

esma
Download Presentation

การใช้ประโยชน์จาก AEC / AFTA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ประโยชน์จาก AEC/AFTA โดย นางสุภาวดี ไชยานุกูลกิตติ นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการพิเศษ วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม 2554 ณ ชลพฤกษ์รีสอร์ท อ.บ้านนา จ.นครนายก

  2. ตลาดส่งออกสำคัญของไทยตลาดส่งออกสำคัญของไทย มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  3. สถานะการเจรจา FTA ความตกลงที่มีผลใช้บังคับแล้ว อยู่ระหว่างการเจรจา BIMSTEC ไทย-EFTA หยุดพักการเจรจา ไทย-บาห์เรน ไทย-สหรัฐอเมริกา อาเซียน-สหภาพยุโรป บรรลุความตกลงแล้ว รอมีผลบังคับใช้ ไทย-เปรู

  4. อาเซียน ASEAN • ก่อตั้งเมื่อปี 2510 (1967) ครบรอบ 43 ปี (เมื่อวันที่ 8 ส.ค. 2553) อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2540 ปี 2540 ปี 2542 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2527 ปี 2510

  5. วัตถุประสงค์ของ AFTA • เพื่อขยายการค้าในอาเซียนให้เป็นไปโดยเสรี - มีอัตราภาษีต่ำที่สุด - ปราศจากข้อจำกัดที่มิใช่ภาษี • เพื่อจูงใจการลงทุนจากต่างชาติเข้าสู่อาเซียน • เพื่อรับกับสถานการณ์เศรษฐกิจการค้าโลก ที่จะเปิดเสรียิ่งขึ้น

  6. การขจัดภาษีนำเข้าสินค้าการขจัดภาษีนำเข้าสินค้า Target ASEAN Free Trade Area ยกเว้นสินค้าในSensitive Listภาษีไม่ต้องเป็น0%แต่ต้อง <5% ไทยมี 4 รายการ : กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง สินค้าในHighly Sensitive Listไม่ต้องลดภาษี มีสินค้าข้าว ของอินโดนีเซีย (2551-30% 2558-25%) มาเลเซีย (20%) ฟิลิปปินส์ (2551-40% 2558-35%) , น้ำตาลของอินโดนีเซีย (30-40% 2558- 5-10%)

  7. ไทยได้ชดเชย เป็นการนำเข้าขั้นต่ำ ปีละประมาณ 5.5 แสนตัน ยังต้องรอเจรจา

  8. การยกเลิกโควตาภาษีสินค้าเกษตร 22 รายการภายใต้ AFTA หมายเหตุ: ภาษีนำเข้าภายใต้ AFTA เป็น 0 ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว* มันฝรั่ง และเมล็ดกาแฟ ภาษีเป็น 5%

  9. จัดระบบบริหารการนำเข้าจัดระบบบริหารการนำเข้า • การขอหนังสือรับรองการนำเข้า • กำหนดคุณสมบัติผู้นำเข้า • กำหนดมาตรฐานการผลิต • กำหนดมาตรฐานสุขอนามัยที่เข้มงวด • ใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า • กำหนดด่านและช่วงเวลานำเข้า • จัดระบบติดตามการนำเข้า • รายงานการนำเข้า การใช้ การจำหน่าย และสต็อกคงเหลือภายใน 1 เดือน • การติดตามสถิติการนำเข้า • จัดระบบติดตามตรวจสอบและประเมินผล แนวทางมาตรการรองรับการเปิดตลาดสินค้าเกษตร

  10. มาตรการนำเข้าสินค้าเกษตรของไทยมาตรการนำเข้าสินค้าเกษตรของไทย

  11. มาตรการนำเข้าสินค้าเกษตรของไทยมาตรการนำเข้าสินค้าเกษตรของไทย

  12. มาตรการนำเข้าสินค้าเกษตรของไทยมาตรการนำเข้าสินค้าเกษตรของไทย

  13. มาตรการนำเข้าสินค้าเกษตรของไทยมาตรการนำเข้าสินค้าเกษตรของไทย * เป็นสินค้าอ่อนไหวของไทย ภาษีนำเข้าภายใต้ AFTA ที่ 5%

  14. มูลค่าการส่งออกสินค้าของไทยภายใต้ AFTA มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ 25,553 100% 22,851 100% เพิ่มขึ้น 45% 54.9% 42.3%

  15. สินค้าเกษตร • สตาร์ซทำจากมันสำปะหลัง น้ำตาล อาหารปรุงแต่ง • เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ข้าวโพดที่ไม่ได้ทำพันธุ์ ซอส ฯลฯ • สินค้าอุตสาหกรรม • ยานยนต์ส่งของ รถยนต์และยานยนต์อื่นๆ เครื่องปรับอากาศ ส่วนประกอบยานยนต์ น้ำมันปิโตรเลียม เครื่องตักเชิงกล ตู้เย็น ฯลฯ สินค้าที่ไทยส่งออกภายใต้ AFTA สูง

  16. การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี Form C/O ผู้ส่งออก ผู้นำเข้า Form D อาเซียน Form E อาเซียน-จีน Form AK อาเซียน-เกาหลี Form AI อาเซียน-อินเดีย Form AANZ อาเซียน-ออสเตรเลียนิวซีแลนด์ Form AJ อาเซียน-ญี่ปุ่น Form FTA ไทย-ออสเตรเลีย Form FTA ไทย-อินเดีย Form FTA ไทย-ญี่ปุ่น Self Certification ไทย-นิวซีแลนด์

  17. 1. ตรวจสอบข้อมูลสินค้า 2. ทำบัตรประจำตัวผู้ส่งออก-นำเข้า 3. การตรวจและรับรองคุณสมบัติถิ่นกำเนิดสินค้า 4. ขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ขั้นตอนการขอรับสิทธิฯ

  18. ข้อมูลที่ผู้ส่งออกต้องทราบก่อนขอรับสิทธิฯข้อมูลที่ผู้ส่งออกต้องทราบก่อนขอรับสิทธิฯ

  19. www.dft.go.th

  20. 1 2

  21. “หลักเกณฑ์” หรือ “กติกา” ในการพิสูจน์หรือตัดสินว่า สินค้ามีถิ่นกำเนิดจากประเทศใด กำหนดขึ้นเพื่อให้มั่นใจว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการให้ สิทธิพิเศษจะตกอยู่กับสินค้าที่เป็นผลผลิตที่แท้จริงของ ประเทศที่ได้รับสิทธิ กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า

  22. หลักเกณฑ์การผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การผลิตในประเทศ WhollyObtained (WO) 1 กฎถิ่นกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) กฎการเปลี่ยนพิกัด นำเข้า - ส่งออก 2 % สัดส่วนมูลค่าการผลิต (RVC) กฎเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rules) 3

  23. หลักเกณฑ์ว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าRoO: Rules of Origin สินค้าที่ผลิตหรือได้จากวัตถุดิบต้นทางในประเทศทั้งหมด (Wholly Obtained : WO) สินค้าที่คิดสัดส่วนเป็นร้อยละของวัตถุดิบ ค่าการผลิต เป็นมูลค่าสินค้าในประเทศสมาชิก (Percentage Criterion : LC, RVC, QC) สินค้าที่ผลิต แปรสภาพจากวัตถุดิบอย่างเพียงพอ(Substantial Transformation : ST) เช่น เกณฑ์เปลี่ยนพิกัดฯ CTC ได้แก่ CC CTH และ CTSH สินค้าที่ผลิตและได้ตามเกณฑ์ผสมระหว่าง สัดส่วนร้อยละ กับ การเปลี่ยนพิกัด อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทุกเกณฑ์ร่วมกัน 26

  24. 1.หลักเกณฑ์ Wholly Obtained สินค้าที่ผลิตมาจากวัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด ไม่มีการนำเข้าจากนอกอาณาเขตของประเทศ สินค้าที่ปลูก เก็บเกี่ยว หรือสกัด ภายในอาณาเขตของประเทศ เนื้อสัตว์ที่ได้จากการทำปศุสัตว์ในประเทศ สัตว์ป่าที่ได้จากการล่าจับ ตก เพาะเลี้ยงในน้ำ แร่ธาตุและสารอื่นที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ได้จาก การสกัดหรือโดยวิธีอื่น จาก พื้นดิน พื้นน้ำ พื้นทะเลและพื้นดินใต้ทะเล 27

  25. สินค้าที่ผลิตหรือได้จากวัตถุดิบต้นทางในประเทศทั้งหมดWholly Obtained หรือ WO ไม่มีการนำเข้าวัตถุดิบ ผลิตจากวัตถุดิบต้นทางธรรมชาติในประเทศทั้งหมด เช่น พืช ยางพารา แร่ธาตุ น้ำมัน ไข่มุก สัตว์ ปลา เป็นต้น WO Country 28

  26. สินค้าที่คิดสัดส่วนมูลค่าของวัตถุดิบค่าการผลิต.. เป็นร้อยละของมูลค่าสินค้า(Percentage Criterion : LC, RVC, QC) เป็นการคำนวณมูลค่าที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตโดยเอามูลค่าวัตถุดิบและต้นทุนการผลิตในประเทศ มารวมเป็นสัดส่วนร้อยละของราคาสินค้าส่งออก เรียกเป็น Local Content (LC), Regional Value Content (RVC) หรือ Qualified Content (QC) …. Etc. 29

  27. วัตถุประสงค์ของ การตรวจถิ่นกำเนิดสินค้า • ตรวจว่าสินค้ามีคุณสมบัติถูกต้องตาม กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า หรือไม่ • ป้องกันการแอบอ้างถิ่นกำเนิดสินค้า (Circumvention)

  28. การพิจารณาถิ่นกำเนิดสินค้าการพิจารณาถิ่นกำเนิดสินค้า การผลิต  ขั้นตอน/กระบวนการผลิต ต้นทุนการผลิต/ราคาสินค้า การใช้วัตถุดิบ แหล่งที่มา/ถิ่นกำเนิดของวัตถุดิบ พิกัดศุลกากรของวัตถุดิบนำเข้า ต้นทุนวัตถุดิบ 31

  29. โครงสร้างราคาสินค้า F.O.B./หน่วย (ราคา GATT) • 1. ต้นทุนวัตถุดิบ • ก) วัตถุดิบในประเทศ (หรือวัตถุดิบของประเทศสมาชิก FTA) ได้ • ข) วัตถุดิบนำเข้าจากต่างประเทศ ไม่ได้ • 2. ต้นทุนการผลิต (Production cost) ได้ • ก) ต้นทุนทางตรง (คชจ. ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้า) • ข) ต้นทุนทางอ้อม (คชจ. ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิต) • 3. กำไรต่อหน่วย ได้ • 4. ราคาสินค้าหน้าโรงงาน (ต้นทุนวัตถุดิบ + ต้นทุนการผลิต + กำไร) = ข้อ 1+2+3 • 5. คชจ. ในการขนส่งสินค้า (จากโรงงานไปยังท่าเรือ/ท่าอากาศยาน/ด่านชายแดน) • 6. ราคาสินค้าสินค้า FOB (ราคาสินค้าโรงงาน + คชจ. ในการขนส่ง) = ข้อ 4+5 • การคำนวณ = [ต้นทุน+กำไรในประเทศ] * 100 / ราคา FOB • จะต้องเท่ากับหรือเกินเพดานที่กำหนด จึงจะได้แหล่งกำเนิด เช่น ASEAN 40%

  30. 3. วิธีสัดส่วนมูลค่าการผลิตของอาเซียน (Regional Value Content : RVC) RVC ≥ 40 % 1) สูตรทางตรง วัสดุในอาเซียน + ค่าแรงทางตรง + ต้นทุนดำเนินงานทางตรง+ ต้นทุนอื่นๆ + กำไร RVC = ราคา FOB หรือ 2) สูตรทางอ้อม RVC = ราคา FOB – วัสดุที่ไม่ได้แหล่งกำเนิด ราคา FOB

  31. วัตถุดิบและต้นทุน การผลิตในประเทศ ไม้ A (15 US$) ค่าแรงงาน (10 US$) ค่าไฟฟ้า (5 US$) มูลค่าเพิ่ม 40% ของราคาสินค้าส่งออก เฟอร์นิเจอร์ไม้ ส่งออก(100 US$) วัตถุดิบนำเข้า แผ่นไม้ B (50 US$) น้ำยาเคลือบเงา (3 US$) ตะปู (5 US$) กาว (2 US$) การคิดร้อยละของมูลค่าเพิ่มที่ได้จากวัตถุดิบและต้นทุนการผลิตในประเทศ สินค้าส่งออก กำไร (10 US$) 34

  32. เลขพิกัดอัตราศุลกากร จัดแบ่งกลุ่มสินค้า (Goods by Tariff Classification) องค์กรศุลกากรโลก (World Customs Organization:WCO) จัดประเภท (กลุ่มสินค้าที่คล้ายกัน)และกำหนดเลขพิกัดฯ (H.S. Code Number) เป็น หมวด ตอน ประเภทพิกัดและประเภทพิกัดย่อย(ประมาณ 6,000 รายการ)เป็นระบบสากล เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บอากรขาเข้าของแต่ละประเทศ พบว่า การผลิต สินค้า จากวัตถุดิบ มีผลทำให้เลขพิกัดของวัตถุดิบเปลี่ยนไปเป็นเลขพิกัดของสินค้า เรียกว่า เปลี่ยนพิกัด ซึ่งสามารถกำหนดเป็นหลักเกณฑ์การได้แหล่งกำเนิดสินค้าที่ตรวจสอบได้ง่าย

  33. กำหนดเลขพิกัดฯ (H.S. Code Number) หมวด (Section) มี 21 หมวด ตอน (Chapter) ใช้เลข 2 หลัก (01 ถึง 97 ) ประเภท (Heading) ใช้เลข 4 หลัก (01.01 ถึง 97.06) ประเภทย่อย (Sub-Heading) ใช้เลข 6 หลัก(0101.10 ถึง 9706.00) วิธีการจำแนกสินค้าตามเลขพิกัดอัตราศุลกากร 36

  34. ตัวอย่างการจำแนกพิกัดตัวอย่างการจำแนกพิกัด ตอนที่ 03 • 03 สัตว์น้ำ • 03.06 สัตว์น้ำ จำพวกครัสตาเซีย (กุ้ง ปู กั้ง) • 0306.13 กุ้ง ตอนที่ 87 • 87 ยานพาหนะ • 87.11 รถจักรยานยนต์ • 8711.30 รถจักรยานยนต์ 250 – 500 ซีซี 37

  35. การเปลี่ยนพิกัด CTC (Change in Tariff Classification) ตัวอย่างการเปลี่ยนเลขพิกัดฯ 2 หลัก (CC) 4 หลัก (CTH) และ 6 หลัก (CTSH) CC : Change of Chapter 72.15 73.02 CTH : Change of Tariff Heading 72.06 72.17 CTSH: Change of Tariff Subheading 7103.107103.91 ให้ดูที่เลขพิกัดฯ คู่แรกที่ไม่เหมือนกันระหว่างเลขพิกัดฯ ของวัตถุดิบกับสินค้าส่งออก เป็นการเปลี่ยนพิกัดของ CTC 38

  36. ตัวอย่างการเปลี่ยนพิกัดฯ ระหว่าง “วัตถุดิบนำเข้า” กับ “สินค้าส่งออก” สินค้าส่งออก แก้ว พิกัดฯ 70 วัตถุดิบทราย พิกัดฯ 25 2 หลัก CC กระบวนการผลิต วัตถุดิบ ไม้ พิกัดฯ 44.30 สินค้าหน้าต่าง ประตู พิกัดฯ 44.18 4 หลัก CTH กระบวนการผลิต 39

  37. นำเข้าแป้งสาลี ขนมปัง กระบวน การแปรรูป 1101.00 1905.20 EXPORT CC

  38. CHAPTER (2 หลัก) CHAPTER 52 CHAPTER 62 • วัตถุดิบและของสำเร็จรูปถูกจัดให้อยู่ใน พิกัดฯ • ระดับตอน( CHAPTER )ทั้งคู่ • ความแตกต่างกันของพิกัดฯในระดับตอน เรา • เรียกว่า CHANGE OF TARIFF CHAPTER = CC

  39. HEADING (4 หลัก) วัตถุดิบและของสำเร็จรูปถูกจัดให้อยู่ในพิกัดฯระดับประเภท (HEADING ) ทั้งคู่ ความแตกต่างกันของพิกัดฯในระดับประเภทเราเรียกว่า CHANGE OF TARIFF HEADING= CTH ด้ายใยยาวสังเคราะห์ ผ้าทอทำด้วยด้ายใยยาวสังเคราะห์ 5407 5402 ของสำเร็จรูป วัตถุดิบ

  40. SUB-HEADING (6 หลัก) 710221เพชร ใช้ในทางอุตสาหกรรม ไม่ได้ตกแต่ง วัตถุดิบและของสำเร็จรูป ถูกจัดให้อยู่ใน พิกัดฯ ระดับประเภทย่อย (SUBHEADING ) ทั้งคู่ ความแตกต่างกันของพิกัดฯในระดับประเภทย่อย เราเรียกว่า CHANGE OF TARIFF Sub-HEADING = CTSH 710229 เพชรใช้ในทางอุตสาหกรรมตกแต่ง

  41. ASEAN Cumulative Rules of Origin General ROO: CTH (Finger Model) Assembly Rule Product Specific Rule (PSR): CTSH 8536 SWITCH C C 8502 MOTOR C C EXPORT 8537 PCB C C 40 RUBBER C C 70 GLASS C C CTSH CTSH 8450.90 Parts 8450.12 Washing machine Value Added 40% O.K.

  42. ตัวอย่าง การใช้กฎแหล่งกำเนิดสินค้า 2 แบบ เครื่องรับโทรทัศน์ (H.S. 8528.12) ความยากง่าย = 2 เงื่อนไขแหล่งกำเนิด เปลี่ยนพิกัด 6 หลัก (CTSH) + 40% LC เสนอแก้ไข ROO เป็น CTH อย่างเดียวความยากง่าย = 2 ตามเดิม ประเด็นปัญหา • เนื่องจากการผลิตมีการพัฒนา โดยหลอดภาพ (CRT) (H.S.8540.11) ได้ถูกเปลี่ยนเป็นจอแบน LCD/Plasma (H.S.8540.40) ซึ่งไทยต้องนำเข้าจากเกาหลี ญึ่ปุ่นและไต้หวัน ส่งผลให้ไทยไม่สามารถเพิ่มมูลค่าได้ถึงร้อยละ 40 (เหลือเพียงร้อยละ 25) ซึ่งอินเดียประสบปัญหาเช่นเดียวกัน จึงทำให้เครื่องรับโทรทัศน์สีจอแบนจะไม่ได้สิทธิประโยชน์ลดอากรขาเข้าทั้ง 2 ฝ่าย จึงควรยกเลิกมูลค่าเพิ่มออกจากเงื่อนไขและใช้เกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดในระดับ 4 หลัก (CTH) เพียงเกณฑ์เดียว สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  43. ไทย-ออสเตรเลีย PSR • ไทย-อินเดีย PSR • ไทย-นิวซีแลนด์ 50% • ไทย-ญี่ปุ่น PSR กฎสัดส่วนมูลค่าการผลิต % of Regional Value Content • อาเซียน 40% • อาเซียน-จีน 40% • อาเซียน-เกาหลี 40% • อาเซียน-อินเดีย 35% • อาเซียน-ออสเตรเลียนิวซีแลนด์ 40% • อาเซียน-ญี่ปุ่น PSR

  44. Back to Back Form D ประเทศคนกลาง ประเทศนำเข้า ประเทศผู้ผลิต ศุลกากรผู้นำเข้า ออก Form D ออก Back-to-back Form D *** ห้ามมีการเปลี่ยนแปลงสินค้า

  45. ตัวอย่าง :กรณี Back-to-back Form D ออก Back-to-back Form D ศุลกากรผู้นำเข้า ออก Form D 48

  46. Third Country Invoicing ศุลกากรประเทศผู้นำเข้าสามารถยอมรับหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า ในกรณีที่มีใบกำกับราคาสินค้าที่ออกโดยบริษัทที่ตั้งอยู่นอกอาเซียนหรือในอาเซียน VN TW TH Issuing Form D + Taiwan Invoice 49

  47. ติดต่อ-สอบถามกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์โทร. 02-547 4872โทรสาร. 02-547 4816สายด่วน 1385

More Related