270 likes | 658 Views
สถานการณ์โรคมือเท้าปาก จังหวัดสุรินทร์. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค. Outline. - สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในประเทศไทยและจังหวัดสุรินทร์ สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในอำเภอต่างๆในจังหวัดสุรินทร์ ประวัติผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคมือ เท้า ปาก โรคมือ เท้า ปากและการรักษา แนวทางการเก็บสิ่งส่งตรวจ
E N D
สถานการณ์โรคมือเท้าปากจังหวัดสุรินทร์สถานการณ์โรคมือเท้าปากจังหวัดสุรินทร์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
Outline • - สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในประเทศไทยและจังหวัดสุรินทร์ • สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในอำเภอต่างๆในจังหวัดสุรินทร์ • ประวัติผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคมือ เท้า ปาก • โรคมือ เท้า ปากและการรักษา • แนวทางการเก็บสิ่งส่งตรวจ • แนวทางเฝ้าระวัง สอบสวน และรายงานโรค กรณีสงสัยติดชื้อเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ที่มีอาการรุนแรง และการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก
สถานการณ์โรคมือ เท้าปากในประเทศไทยเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
สถานการณ์โรคมือ เท้าปากในจังหวัดสุรินทร์เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
สถานการณ์โรคมือ เท้าปากในอำเภอเมืองเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง สถานการณ์โรคมือ เท้าปากในอำเภอชุมพลบุรีเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง สถานการณ์โรคมือ เท้าปากในอำเภอปราสาทเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
พี่สาวผู้ป่วยอายุ 4 ปี เรียนในศูนย์เด็กเล็กแห่งหนึ่ง Timeline: แสดงอาการผู้ป่วยชายอายุ 10 เดือนเสียชีวิตจากโรคมือ เท้า ปาก มีน้องชายของเด็กที่อยู่ในศูนย์เด็กเล็กป่วยเป็นโรคมือเท้าปาก เมื่อต้นเดือนมิ.ย. 57 พบพี่สาวของผู้ป่วยมีตุ่มขึ้นบริเวณปลายลิ้น ไม่มีไข้ เด็กชายอายุ 4 ปี อยู่ศูนย์เด็กเล็กเดียวกับพี่สาวผู้ป่วย มีผื่นขึ้นที่ฝ่ามือ ไม่มีไข้ ไปศูนย์เด็กเล็กกับมารดา (มารดาไปทำฟัน) ไปตลาดนัดกับมารดา 8/7/14 9/7/14 7/7/14 6/7/14 10/7/14 5/7/14 11/7/14 17/7/14 มีตุ่มแดงบริเวณขาหนีบ ๒ ข้าง และมีตุ่มแดงในปาก ลำคอ และศีรษะ รับประทานอาหาร นม ได้ตามปกติ ไม่ซึม ไม่ไข้ 5.30 น. หมดสติ ปลุกไม่ตื่น เรียกไม่รู้สึกตัว ตัวเขียว บิดานำไปรพ.ชุมพลบุรี 6.00 น.GCS E1V1M1 pupil-fixed dilation, no pulse DTX 232 mg%, EKG: Asystole, CPR เสียชีวิต Serum for EV71 Ab, Rectal swab for EV71 รอผล lab จากกรมวิทย์ CSF for EV71 8.00 น.ตุ่มในปากและที่น่องมากขึ้น ดูดนมไม่ได้ อาเจียนตลอด และได้ไปรักษาที่คลินิก แพทย์วินิจฉัยโรคมือเท้า ปาก แนะนำไปรักษารพ20.00 น. มีชักเกร็งตาลอย 5 ครั้ง และอ่อนเพลีย .
การติดเชื้อ Enterovirus 71 (EV71) • 20-50% of HFMD in Thailand caused by EV71 • Severe EV71 = midbrain Encephalitis - high fever 3 high fever 3-4 d. 4 d - dyspnea dyspnea, cough (rare) - acute pulmonary edema - acute cardiac failure (myocarditis -liked) • Mostly occur in young children (<5 yr)
Virus Serotypes Clinical Diseases Polioviruses 3 types Asymptomatic infection, viral meningitis, paraalytic disease, poliomyelitis Coxsackie A viruses 23 types ( A1-A22, A24) Viral meningitis plus, rash, ARD, myocarditis, orchitis Coxsackie B viruses 6 types (B1-B6) Viral meningitis, but no orchitis Echioviruses 32 types Viral meningitis, with orchitis Other Enteroviruses 4 types(68-71) Viral meningitis, rash,ARD Categories of Enteroviruses
Pathogenesis of enterovirus infection Replication in oropharynx Rhino,echo, coxsackie,polio Primary viremia Secondary viremia Target Tissue Skin Muscle Brain Meninges Liver Echo Coxsackie A Echo Coxsackie A, B Echo Polio Coxsackie Polio Coxsackie Echo Coxsackie
อาการของการติดเชื้อในกลุ่ม Enterovirus 1. ผู้ป่วยมีไข้ร่วมกับอาการหอบเหนื่อยเฉียบพลัน และมีอาการหรืออาการแสดงที่บ่งชี้การติดเชื้อใน ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS infection) อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1.1 ชัก/เกร็ง (seizure/convulsion) หรือ 1.2 ตรวจร่างกายพบ meningeal sign หรือ encephalitis หรือ 1.3 สั่น (tremor) หรือ 1.4 แขน ขาอ่อนแรง (acute flaccid paralysis) หรือ 1.5 ตรวจร่างกายพบ myoclonic jerk ไม่ว่าผู้ป่วยจะมีหรือไม่มีอาการของโรคมือ เท้า ปาก (Hand-foot-mouth disease) หรืออาการ ของโรคแผลในคอหอย (Herpangina) ซึ่งผู้ป่วยจะมีเฉพาะแผลในปากโดยไม่มีผื่นหรือตุ่มน้ําที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
ข้อปฏิบัติ • รายงานผู้ป่วยทุกรายภายใน 24 - 48 ชั่วโมง โดยแจ้งข้อมูลเบื้องต้นเท่าที่มีรายละเอียดมา ทาง 1) เมล์ outbreak@health.moph.go.th หรือ 2) โทรแจ้งที่หมายเลข 0 2590 1881 หรือ 3) ส่งรายละเอียดผู้ป่วยตามแบบฟอร์ม - EV ไปที่สํานักระบาดวิทยา (โทรสาร 0 2591 8579) หมายเหตุ ในรายที่ผู้ป่วยมีอาการของโรคมือ เท้า ปาก (Hand-foot-mouth disease) หรือมี อาการแผลในปากเพียงอย่างเดียว (Herpangina) ร่วมด้วย ให้รายงานโรคตามระบบรายงาน 506 ด้วย โดยรายงานผู้ป่วยจากรหัส ICD10 ทั้งรหัส B08.4 และ B08.5 โดยรายงานเฉพาะ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉยัจากแพทย์ • สอบสวนโรค สัมภาษณ์ผู้ป่วย ญาติ และค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมจากสมาชิกครอบครัวในบ้าน โรงเรียน ศนูย์เด็กเล็ก และในชุมชนเดียวกัน • เก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการตามแนวทางที่กำหนด (เฉพาะผู้ป่วย และครอบครัว) • พิจารณาส่งต่อให้กุมารแพทย์เป็นผู้ดูแล
2. ผู้ป่วยมีอาการของโรคมือ เท้า ปาก (Hand-foot-mouth disease) หรือโรคแผลในคอหอย (Herpangina) ร่วมกับมีไข้สูง ≥ 39 องศาเซลเซียส และมีอาการแสดงอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 2.1 อาเจียน 2.2 ท้องเสีย 2.3 ซึม 2.4 หอบเหนื่อย 2.5 อาการทางระบบประสาทส่วนกลาง (ดังข้างต้น) ข้อปฏิบัติ • ดําเนินการรายงาน สอบสวน และเก็บตัวอย่าง เช่นเดียวกับกรณีผู้ป่วยแบบที่ 1 • รายงานโรคตามระบบรายงาน 506 ด้วย โดยรายงานผู้ป่วยจากรหัส ICD10 ทั้งรหัส B08.4 (Hand-foot-mouth disease) และ B08.5 (Herpangina) โดยรายงานเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับ การวินิจฉัยจากแพทย์
3. ผู้ป่วยมีอาการของโรคมือ เท้า ปาก (Hand-foot-mouth disease) หรือมีโรคแผลในคอหอย (Herpangina) ที่ไม่มีอาการรุนแรง (ไม่ครบตามเกณฑ์ข้อ 1 หรือข้อ 2) ข้อปฏิบัติ • รายงานโรคตามระบบรายงาน 506 ด้วย โดยรายงานผู้ป่วยจากรหัส ICD10 ทั้งรหัส B08.4 และ B08.5 และควบคุมโรคตามแนวทางของกรมควบคุมโรค • ตรวจสอบว่ามีผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อนในหมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก สถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียนหรือไม่
หากพบผู้ป่วยมีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน ได้แก่ - ผู้ป่วยมากกว่า 2 ราย ในศูนย์เด็กเล็ก สถานรับเลี้ยงเด็ก หรือห้องเรียนเดียวกันภายใน 1 สัปดาห์ - ผู้ป่วยมากกว่า 5 ราย ในโรงเรียนเดียวกัน หรือหมู่บ้านเดียวกันภายใน 1 สปัดาห์ ให้ดําเนินการดังนี้ - รายงานโรคตามระบบรายงาน 506 ด้วย โดยรายงานผู้ป่วยจากรหัส ICD10 ทั้งรหัส B08.4 (Hand-foot-mouth disease) และ B08.5 (Herpangina) โดยรายงานเฉพาะ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ - สอบสวนโรคและรายงานผลการสอบสวนโรค ตามแบบฟอร์ม สอบสวนโรคมือเท้าปาก ในคู่มือนิยามโรคติดเชื้อ และส่งที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรค - เก็บตัวอย่างส่งตรวจ (ตามแนวทางที่กำหนด) - ควบคุมโรคตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
การวินิจฉัยและการเก็บสิ่งส่งตรวจสำหรับผู้ป่วยสงสัย EV 71 1. Clinical diagnosis (suspicious when outbreak) 2. Viral identification :- - acute phase :- Throat swab culture and 1st serum specimen - convalescent phase :- stool culture and 2nd serum specimen 3. Polymerase Chain Reaction for EV 71
ผู้ป่วยสงสัย Enterovirusที่จะมีอาการรุนแรง/HFMD หรือมีการระบาดเป็นกลุ่มก้อน ขั้นตอนการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ เก็บ Stool 8 กรัม (2 นิ้วหัวแม่มือ) 7 วัน หลังป่วยแต่ไม่เกิน 14 วัน เก็บใส่ภาชนะที่สะอาดแล้วปิดฝาให้แน่น ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส(รีบนำส่งให้เร็วที่สุด) เก็บ Throat swab ในสัปดาห์แรกของการเริ่มป่วยโดยใช้ไม้ swab ก้านพลาสติกเก็บลงใน VTM สีชมพู ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส(รีบนำส่งให้เร็วที่สุด) เก็บเลือด (Clotted blood) 2 ครั้ง (Paired serum)ประมาณ 3มิลลิกรัม ครั้งแรกทำเร็วที่สุดภายใน 3 วันหลังเริ่มป่วย ครั้งที่สองห่างจากครั้งแรก 14 วัน ผลพบระดับแอนติบอดีในซีรั่มคู่ต่างกันอย่างน้อย 4 เท่า ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส(รีบนำส่งให้เร็วที่สุด) เก็บ CSF ปริมาณ 2 มิลลิลิตร ใส่ภาชนะปลอดเชื้อ (รีบนำส่งให้เร็วที่สุด) เก็บ Rectal swab ภายใน2สัปดาห์แรกหลังวันเริ่มมีไข้ โดยใช้ไม้ swab ก้านพลาสติกเก็บลงใน VTM สีชมพู ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส(รีบนำส่งให้เร็วที่สุด) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา Tel.044-346006-13 Fax.044-346018 ***กรณีพบผู้ป่วยน้อยกว่า 20 คน ให้เก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยจำนวน 5 คนที่มีประวัติไข้ หรือมีอาการ Herpangina/Hand-foot-mouth lesion ในกลุ่มก้อนเดียวกัน ***กรณีพบการระบาดเป็นกลุ่มก้อนตั้งแต่ 20 คนขึ้นไปให้เก็บตัวอย่างจากผู้ป่วย 6 - 10 คนที่มีประวัติไข้ หรือมีอาการ Herpangina/Hand-foot-mouth lesion ในกลุ่มก้อนเดียวกัน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Tel.02-5910000 Fax.02-5915974 ห้องส่งตัวอย่าง ต่อ 99248, 99614 ห้อง Lab ไวรัส ต่อ 99210
โรคมือ เท้า ปากติดต่อได้อย่างไร • น้ำมูก น้ำลาย น้ำจากตุ่มพองและแผลในปาก หรือติดจากการไอจามรดกัน • อุจจาระของผู้ป่วย เชื้อเข้าร่างกายทางปาก โดยติดมากับมือ หรือภาชนะที่ใช้ร่วมกัน เช่น ช้อน แก้วน้ำ หรือของเล่น • ติดต่อกันได้ง่ายในสถานที่ที่มีเด็กอยู่ร่วมกันจำนวนมาก • การแพร่ติดต่อเกิดขึ้นค่อนข้างง่ายในช่วงสัปดาห์แรกของการป่วย และแม้อาการทุเลาลงแล้ว ก็ยังอาจแพร่เชื้อได้บ้าง เนื่องจากเชื้อจะถูกขับออกมากับอุจจาระได้นานถึง 6-8 สัปดาห์ • แสดงอาการป่วยภายใน 3 - 5 วันหลังได้รับเชื้อ โดยไข้เป็นอาการแสดงเริ่มแรกของโรค
Treatment 1. รักษาตามอาการ เช่นยาแก้ปวด, Xylocaineฯลฯ 2. ทานอาหารที่ไม่ร้อน ไม่เค็ม 3. เฝ้าระวัง HFMD ชนิดที่มีอาการรุนแรง (ถ้ามี ควร admit และ investiagateเชื้อ) 4. ใช้ IVIG, ECMO ใน severe life threatening HFMD
สิ่งที่ดำเนินการไปแล้วสิ่งที่ดำเนินการไปแล้ว • 1. ประชุมพี่เลี้ยงศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในพื้นที่อำเภอ • ชุมพลบุรีและอำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เพื่อคัดกรองโรคมือ เท้า ปากโดยใช้แบบคัดกรองที่พัฒนาขึ้น • 2. ประชุมแพทย์ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากโรงพยาบาล รพ.สต. ในอำเภอชุมพลบุรี เพื่อชี้แจงแนวทางการเฝ้าระวังโรคคัดกรองในโรงพยาบาล การสอบสวนและเก็บตัวอย่างเพิ่มเติมกรณีพบผู้ป่วยอาการรุนแรง • 3. ชี้แจงแนวทางการเก็บและการส่งสิ่งส่งตรวจแก่ที่ประชุมกลุ่มบุคลากรทางห้องปฏิบัติการในจังหวัดสุรินทร์ • สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อ • 1. ติดตามและประเมินผลการเฝ้าระวังโรคมือเท้าปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กในพื้นที่อำเภอชุมพลบุรีและอำเภอท่าตูม และติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคมือเท้าปาก ในอำเภอเมือง และอำเภออื่นของจังหวัดสุรินทร์ เพื่อควบคุมการระบาดของโรคในวงกว้าง • 2. การจัดหา VTM ให้เพียงพอ • 3. สำรวจวิธีการคัดกรองและป้องกันโรคมือเท้าปากตามมาตรฐานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทั้งจังหวัดสุรินทร์ ปัญหา • วิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ specimen สำหรับ Enterovirus • VTM มีไม่เพียงพอ • ผู้ป่วยที่ได้รับการหยุดเรียนไม่ได้รับการ Isolate อย่างชัดเจน ยังคงแพร่เชื้อต่อไปในชุมชน
แนวทางคัดกรองและควบคุมเด็ก/นักเรียน สงสัย โรคมือ เท้า ปาก - คัดกรองเด็กนักเรียนตามศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ตนรับผิดชอบทุกวันที่เปิดเรียน ถ้าหากพบผู้ป่วยสงสัย โรคมือ เท้า ปาก ให้หยุดเรียน 7 วัน - รายงานการคัดกรองให้กับรพ.สต.ทราบเป็นรายวัน รับผู้ป่วยสงสัย โรคมือ เท้า ปากจากศูนย์เด็กและส่งต่อ ไปรับการรักษาและยืนยันโรคที่ รพช. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนประถม • ส่งต่อข้อมุลเด็กป่วยไปให้ • อสม. • แจ้งผู้นำชุมชนในพื้นที่ที่มีผู้ป่วยหลายรายหรืออาการรุนแรง ผู้ปกครอง อสม. รพ.สต. บ้านเด็กป่วย: ออกตรวจ หรือดูอาการที่บ้านของเด็กที่ป่วยเป็นโรคมือ เท้า ปากทุกวันเป็นเวลา 7 วัน บ้านอื่นๆ:ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองในการช่วยดูอาการเด็กในบ้านทุกวันเมื่อพบให้แจ้งอสม.และแยกออกจากเด็กอื่น/คัดกรองเด็กในชุมชน ผู้ปกครองเด็กป่วย:กันเด็กป่วยไม่ให้เล่นกับเด็กคนอื่น(ภายในบ้าน/นอกบ้าน) ผู้ปกครองเด็กไม่ป่วย:กันเด็กไม่ป่วยไม่ให้ไปเล่นกับเด็กป่วย • ให้ความรู้ในการป้องกันโรคมือเท้าปาก • อสม. • ผู้ปกครอง/ชุมชนในพื้นที่สำคัญ รพช. สสอ. -ร่วมออกสอบสวนโรคในกรณีcluster ใหญ่ -บันทึกในรง. 506 ท้องถิ่น รายงานการคัดกรองหรือ zero reportให้กับรพช.(ทั้งกรณีที่พบและไม่พบผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคมือ เท้า ปาก) อาทิตย์ละ 2-3 ครั้ง ติดตามสถานการณ์และประชาสัมพันธ์ชาวบ้านได้รับทราบ และประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองตระหนักการในแยกเด็กป่วย สนับสนุนอุปกรณ์ที่จำเป็นแก่ศูนย์เด็กเล็กในการทำ Big cleaning day