770 likes | 1.02k Views
Peaceful conflict Resolution in Health system. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 7 พฤศจิกายน 2546 ณ โรงแรมบางกอกกอล์ฟ สปา รีสอร์ท จังหวัดปทุมธานี. นพ.บรรพต ต้นธีรวงศ์ ที่ปรึกษาระดับกระทรวงด้านเวชกรรมป้องกัน
E N D
Peaceful conflict Resolution in Health system การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 7 พฤศจิกายน 2546 ณ โรงแรมบางกอกกอล์ฟ สปา รีสอร์ท จังหวัดปทุมธานี นพ.บรรพต ต้นธีรวงศ์ ที่ปรึกษาระดับกระทรวงด้านเวชกรรมป้องกัน สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สุขภาพ ระบบสาธารณสุข ระบบบริการสาธารณสุข และ VS กายภาพ/ชีวภาพ กรรมพันธุ์ นโยบายสาธารณะ ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ/การเมือง พฤติกรรม วัฒนธรรม/ศาสนา ความเชื่อ ประชากร/การศึกษา จิตวิญญาณ ความมั่นคง สุขภาพ การสื่อสาร/คมนาคม วิถีชีวิต โครงสร้าง กำลังคน ระบบสาธารณสุข การบริหาร งบประมาณ ระบบการแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก (พื้นบ้าน) ระบบการแพทย์ และสาธารณสุข (กระแสหลัก) ระบบบริการสาธารณสุข บริการส่งเสริม/ ป้องกัน รักษา/ ฟื้นฟู
สุขภาพ คือ สุขภาวะของคนทั้งคน ของคนที่อยู่ร่วมกัน และ ของคนที่อยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อม ได้อย่าง “อยู่เย็น” และ “เป็นสุข” คือ สุขภาพที่เป็นองค์รวม เชื่อมโยงกันอย่างสมดุล ทั้งมิติทางกาย ทางใจ ทาง สังคมและทางปัญญา (จิตวิญญาณ) สุขภาพ จึงไม่ใช่เรื่องการเจ็บไข้ได้ป่วย, การรักษาพยาบาล, มดหมอหยูกยา, หรือ การแพทย์และสาธารณสุข เท่านั้น
ความหมาย “สุขภาพ” ของ “ชาวบ้าน” คือ การมีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข ประกอบด้วย • การมีอยู่มีกินอย่างเพียงพอ • การมีอาชีพที่มั่นคง • การมีร่างกายแข็งแรง • การมีจิตใจร่าเริงเบิกบาน • การอยู่ในชุมชนที่เอื้ออารีต่อกัน • การมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต แสดงถึง กรอบแนวคิดสุขภาพที่เป็นระบบเชื่อมโยงกัน (เปลี่ยนจากแนวคิดเดิม “ไม่มีโรค” เท่านั้น) ชุมชนลุ่มน้ำมูล
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพHEALTHY PUBLIC POLICY (HPP) WHO : เพื่อให้ Health for ALL บรรลุเป้าหมาย หรือ เป้าหมาย = มุ่งสู่ “คน” HPP : การมีส่วนร่วม คือ หัวใจของการกำหนด WHO/HPP : การตัดสินใจ / กำหนดนโยบาย / ดำเนินโครงการใดๆ ของภาครัฐ เอกชน และสังคม ต้องแสดงถึง ความห่วงใย และ ความรับผิดชอบ ต่อสุขภาพของคน (Human Being) ขณะเดียวกัน ต้องมุ่งสู่สร้างสิ่งแวดล้อมทั้งทางธรรมชาติ เศรษฐกิจ ทางสังคมและการเมือง ที่เอื้อต่อ การมีสุขภาพดี
กฎบัตร AMSTERDAM 1999(ARTICLE 152) “ให้ความสำคัญกับการปกป้องสุขภาพของคน (Human Health Protection) โดยจะต้องมีคำจำกัดความ (Definition) ในนโยบายทุกนโยบาย กิจกรรมทุกกิจกรรม ที่จะนำสู่การปฏิบัติในระดับชุมชน” Treaty of Amsterdam 1999 “ A high level of human protection shall be ensured in definition and implementation of all community policies and activities”
IMPLEMENTATION OF HPPการนำ HPP สู่การปฏิบัติ HPP X Competitiveness การแข่งขัน HIA EIA / PARTNERSHIP การเป็นหุ้นส่วนต่อกัน
กลุ่มอาการ D – A – D SYNDROME Decide ตัดสินใจ Announce ประกาศ Defend ปกป้อง Go slow to go fast ช้าๆได้พร้าเล่มงาม
คำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 187/2546 ลงวันที่ 1 กย. 46 • ประกาศนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี • องค์กรภาครัฐให้ความสำคัญปฏิบัติตามนโยบาย • หลักการคือ ต้องยึดมั่น “สันติวิธี” เป็นวิธีเดียวที่เป็นธรรมสร้างความสงบยั่งยืน • ให้เริ่มที่ภาครัฐและเจ้าหน้าที่รัฐก่อน
สองลักษณะของสันติวิธีสองลักษณะของสันติวิธี • สันติวิธีในการต่อสู้เรียกร้อง • (Peaceful Demonstration • or Protest) • สันติวิธีในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง • (Peaceful Conflict Resolution) Banpot/H.conflict.course conclusion/2003
สันติวิธีในความหมายของการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในความหมายของการจัดการความขัดแย้ง 3 แนวทางการจัดการ • แนวทางที่ 1 Conflict Resolution มุ่งแก้ไขให้เกิดผล (ซึ่งไม่เสมอไป) • แนวทางที่ 2 Conflict Management มุ่งจัดการให้ความขัดแย้งอยู่ในกรอบ • แนวทางที่ 3 Conflict Transformation มุ่งเปลี่ยนรูปแบบความขัดแย้งไปเป็นรูปแบบอื่น • อย่างน้อยทำให้เกิดความเข้าใจที่ดีต่อกัน ดร.มาร์ค ตามไท :2543
สันติวิธีในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง(Peaceful Conflict Resolution) • เจรจาไกล่เกลี่ยกันเอง (Negotiation) • เจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง (Mediation) • เจรจาไกล่เกลี่ยในศาล • - ในระบบศาลยุติธรรม = การเจรจาไกล่เกลี่ยทางเลือก (ADRP.) • เจรจาไกล่เกลี่ยนอกศาล - ในระบบสาธารณสุข = Negotiation Mediation Co-mediation Banpot/H.conflict.course conclusion/2003
จะยึดสันติวิธีเป็นสรณะได้อย่างไร?จะยึดสันติวิธีเป็นสรณะได้อย่างไร? • สันติวิธี : • ใช้หลักความเสมอภาค เคารพในความเป็นเพื่อนมนุษย์ อำนาจเท่าเทียม • ยึดหลักอนิจจัง คือ ไม่แน่นอนเปลี่ยนแปลงได้เสมอ ไม่ยึดติดข้อตกลงตายตัว • เป็นการเปลี่ยนจุดยืนให้เป็นผลประโยชน์หรือความต้องการร่วม ทำให้การอยู่ร่วมกันมีความสุขมากขึ้น • จึงต้อง • เชื่อในความมีคุณค่าของสันติวิธี • สร้างและฝึกทักษะการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี ศ.นพ.ประเวศ วะสี:2545
สันติวิธี Civilize Group รวมกลุ่มนักสันติวิธี ช่วยคิด/ช่วยทำ สื่อต่างๆ ปลุกจิตสำนึกสังคม ต่อสันติวีธี สถาบันวิชาการ สร้างองค์ความรู้สันติวิธี ศ.นพ.ประเวศ วะสี:2545
ความเข้าใจต่อความขัดแย้งความเข้าใจต่อความขัดแย้ง • ความขัดแย้งเป็นปรากฎการณ์ธรรมดาอยู่ทั่วทุกหนแห่ง • ความขัดแย้งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง • no problem ,no conflict, no progress • ความขัดแย้งก่อให้เกิดพลังงานทางสรีระ และอารมณ์ • ความขัดแย้งเหมือนดาบสองคม “อันตราย” หรือ “โอกาส” • ความขัดแย้งดำเนินการไปเป็นขั้นเป็นตอน • - ความขัดแย้งแฝง (Latent conflict) • - ความขัดแย้งเริ่มปรากฎ (Emerging conflict) • - ความขัดแย้งปรากฎชัดเจน (Manifest conflict)
ความขัดแย้งแฝง(Latent conflict) • มีความขัดแย้งแล้ว แต่ยังมองไม่เห็น • เริ่มตึงเครียด ยังพัฒนาไม่เต็มที่ • คู่กรณียังไม่ตระหนักว่ามีความขัดแย้ง • เกิดขึ้นแล้ว
ความขัดแย้งเริ่มปรากฎ(Emerging conflict) • ความขัดแย้งเริ่มชัด คู่ขัดแย้งเริ่มรู้สึก • รู้ว่าใครเป็นคู่กรณีของข้อพิพาท • ยังไม่มีกระบวนการจัดการข้อพิพาทนั้น
ความขัดแย้งที่ปรากฎชัดเจน(Manifest conflict) • ความขัดแย้งชัดเจนแล้ว • กระบวนการไกล่เกลี่ยเริ่มเข้ามา • การจัดการความขัดแย้งอาจสำเร็จ หรือ • ถึงทางตัน • ความขัดแย้งรุนแรงขึ้น
ความขัดแย้งด้านข้อมูล(Data conflict) สาเหตุ • มีข้อมูลมากเกินไป จมอยู่ใต้ข้อมูลนั้น • ข้อมูลน้อยเกินไป เกิดความไม่มั่นใจ • แปลข้อมูลผิดพลาด หรือสรุปไมถูกต้อง • มีเห็นแตกต่าง (Difference) ในความหมาย • ของข้อมูลและวิธีการได้ข้อมูล ทางแก้ • หาข้อตกลงในเรื่อง (ไว้ล่วงหน้า) คือ • ความมาก – น้อยข้อมูลที่ต้องการ • คำถามที่ต้องการให้ข้อมูลตอบ • วิธีการน่าเชื่อถือในการเก็บข้อมูล • จะแปลผลอย่างไร • มุ่งหาข้อมูลที่มุ่งสู่ความชัดเจนของผลประโยชน์ (Interest)
ความขัดแย้งด้านสัมพันธภาพ (Relationship conflict) • สาเหตุ • ประวัติสัมพันธภาพ • - ที่ไม่สร้างสรรค์ในอดีตแต่เอามาใช้ในปัจจุบัน • อารมณ์ที่รุนแรง • - ความโกรธ ความไม่พอใจ • - ความกังวล ความสิ้นหวัง • เสียสมาธิในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง • การรับรู้ที่ผิดพลาด • - มองแบบตายตัว • - มองแบบผิวเผิน • การสื่อสารไม่ดี หรือ บกพร่อง • - ไม่มีสัมพันธภาพใดๆ เกิดขึ้น ถ้าไม่มีการสื่อสาร • - คุณภาพการสื่อสารเป็นเรื่องสำคัญ • ช่วยเพิ่มพลังความสามารถจัดการความขัดแย้ง • พฤติกรรมไม่สร้างสรรค์ ซ้ำแล้วซ้ำเล่า • - เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว ทำให้ฝ่ายอื่นรำคาญ จนกลาย • เป็นความขัดแย้ง • ทางแก้ • อย่านำไปใช้ในปัจจุบัน • ออกกำลังกาย • ขอเวลานอก/ เตือนสติ • ใช้อารมณ์ขัน • เอามุมมองและอคติเหล่านั้นออกไป • เพิ่มพลังความสามารถการสื่อสาร • บอกกล่าวอย่างสุภาพ • ตัดการรับรู้พฤติกรรมดังกล่าว
ความขัดแย้งด้านค่านิยม (Values conflict) • สาเหตุ • ความเชื่อที่แตกต่าง (ซึ่งไม่จำเป็นทำให้เกิดความขัดแย้งเสมอไป) • อิทธิพลของค่านิยม ทำให้เสียสมาธิและความร่วมมือในการแก้ปัญหา • (ไม่อยากเข้าร่วม) หรือต่อต้าน หรือไม่มั่นใจ • ทางแก้ • ยอมรับถึงความแตกต่างของค่านิยม • พิจารณาค่านิยมที่มีร่วมกันสู่การแก้ปัญหา (บนความแตกต่าง • จะมีความเหมือน) • เปลี่ยนค่านิยมที่แตกต่างสู่ความต้องการหรือผลประโยชน์ (Interest) • โดยมุ่งที่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมากกว่าเปลี่ยนค่านิยม
ความขัดแย้งด้านโครงสร้าง (Structural conflict) • สาเหตุ • ความไม่ลงตัวของ - ทรัพยากร / กฎระเบียบ • - บทบาท / กระบวนการ, ระบบราชการ • - ภูมิศาสตร์ / ระยะเวลา • เมื่อเกิดขึ้น มักไปตำหนิตัวบุคคลมากกว่าคิดถึงสาเหตุจากโครงสร้าง • ทางแก้ • ไม่ควรยอมรับง่ายๆ ว่า “เป็นสิ่งที่ถูกกำหนดไว้แล้ว” • อาศัยความมุ่งมั่นอย่างเพียงพอที่จะแก้ไข • - วิเคราะห์รับรู้จุดความขัดแย้งจากโครงสร้าง - อะไรเปลี่ยนได้ อะไรไม่สามารถเปลี่ยนได้ • - หาข้อตกลงที่เปลี่ยนได้ และทำอย่างไรจะเปลี่ยนได้ - ยอมรับและทำความเข้าใจสิ่งที่เปลี่ยนไม่ได้ • - ไม่ตำหนิบุคคลในเรื่องที่ปัญหาจากโครงสร้าง
ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ (Interest conflict) • สาเหตุ • ฝ่ายหนึ่งเชื่อว่าการทำให้ความต้องการของตนได้รับการตอบสนอง • ฝ่ายอื่นจะต้องยอมแพ้ • เป็นการใช้กระบวนการแบ่งปัน แทนที่กระบวนการจัดการความขัดแย้ง • เกิดขึ้นได้ทั้ง ด้านเนื้อหา เช่น เงิน, ทรัพยากร • ด้านกระบวนการ เช่น วิธีการที่ปัญหาได้รับการดูแล • ด้านจิตวิทยา เช่น ความไว้วางใจ, ความยุติธรรม, • ความเคารพนับถือ
ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ (Interest conflict) (ต่อ) ทางแก้ ใช้สามเหลี่ยมแห่งความพึงพอใจ วิธีการ เนื้อหา • ความต้องการหรือผลประโยชน์ด้านวิธีการ • ดูแลอย่างยุติธรรม • เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมตัดสินใจ • ความต้องการหรือผลประโยชน์ด้านเนื้อหา • สิ่งจำเพาะที่ต้องได้เพราะสำคัญหรือจำเป็น (ค่าตอบแทน, อำนาจ, • เงินทอง ฯลฯ) • ความต้องการหรือผลประโยชน์ด้านจิตวิทยา • การรับรู้การให้ความไว้วางใจ • ยอมรับนับถือ ชื่นชม จิตวิทยา
สาเหตุความขัดแย้งในระบบสาธารณสุขสาเหตุความขัดแย้งในระบบสาธารณสุข • ไม่แตกต่างจากความขัดแย้งในระบบอื่น ๆ • ที่ทำกิน / ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม • ต่างที่เป็นความขัดแย้งระหว่างบุคคลหรือกลุ่มคนขนาดเล็ก • จุดอ่อน คือ - ด้านข้อมูล : การสื่อสาร (ปะทะสังสรรค์) • - ด้านความสัมพันธ์ : TRUST Banpot/H.conflict.course conclusion/2003
ความขัดแย้ง : เป็นเรื่องธรรมดา เกิดเป็นปกติวิสัยในสังคมมนุษย์ทุกระดับ แม้แต่ในตัวเราเองคนเดียว • เรียนรู้อยู่กับความขัดแย้ง • เรียนรู้แก้ความขัดแย้ง • - ข้อยุติ,ทางออก • - สร้างสรรค์ • เรียนรู้แนวทางป้องกันความขัดแย้ง • ความขัดแย้ง ข้อพิพาท Banpot/H.conflict.course conclusion/2003
จะอยู่กับความขัดแย้งอย่างไร ? วิธีการอยู่กับความขัดแย้ง - หาสาเหตุที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง - การปรับตัว / ปรับลดความคาดหวัง ให้เหมาะสมเป็นจริงได้ - ปรับฐานอำนาจให้พอดีกับความคาดหวัง ความคาดหวัง ความขัดแย้ง ช่องว่าง ความเป็นจริง Banpot/H.conflict.course conclusion/2003 After:ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์
จะอยู่กับความขัดแย้งอย่างไร ? (ต่อ) สิ่งที่ต้องคำนึง 1.ผลประโยชน์ตนเอง vs. ผู้อื่น ความพอดีเหมาะสม 2. ทางเลือก / วิธีการ / กระบวนการแก้ไขปัญหา 3. ความชอบธรรม หรือ แนวทาง / หลักการที่ 2 ฝ่ายยอมรับ 4. ความสัมพันธ์ ปรับปรุงให้สามารถที่จะทำงานร่วมกันในอนาคต 5. การสื่อสาร เสริมสร้างความเข้าใจและช่วยจัดการความขัดแย้ง 6. การยอมรับ ในหน้าที่ของทุกฝ่าย ข้อตกลงกันในการทำหน้าที่ Banpot/H.conflict.course conclusion/2003
Interests VS. Positionsระหว่างผลประโยชน์กับจุดยืน B B
คำจำกัดความคำที่สำคัญคำจำกัดความคำที่สำคัญ ผลประโยชน์หรือความต้องการคือ สิ่งที่กลุ่มต้องการ หรือ มีความจำเป็นต้องได้จริงๆ จากการเจรจา ผลประโยชน์หรือความต้องการคือ ความจำเป็น, ความหวัง, ความกลัว, ความห่วงกังวล, ความปรารถนาที่อยู่เบื้องหลังจุดยืน จุดยืนคือ ทางออกที่เหมาะสมของข้อพิพาทในสายตาของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง จุดยืนคือ ทางแก้ไขปัญหาที่เตรียมการไว้แล้วไม่ว่าจะเป็นผลลัพธ์สุดท้าย หรือ การแสดงความต้องการอย่างเปิดเผย
การแก้ปัญหาร่วมกัน ในประเด็นเรื่องของ “คน” นุ่มนวล แต่ ในประเด็นของ “ปัญหา” แข็ง
เน้นที่ความต้องการ ไม่ใช่จุดยืน
ผลประโยชน์ร่วมกัน (Common Interest) จุดยืน จุดยืน ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ ฝ่าย ก ฝ่าย ข Mental Field Mental Field ผลประโยชน์ร่วมกัน Banpot/H.conflict.course conclusion/2003
กระบวนการผลักดันนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ(HPP)กระบวนการผลักดันนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ(HPP) HIA : สร้างผลลัพธ์ไม่ได้ หากปราศจากการนำไปกำหนด HPP กระบวนการ 1. DIALOGUE / NOT DEBATE สนทนา โต้แย้ง 2.PARTICIPATORY (การมีส่วนร่วมทุกฝ่าย) - INCLUSIVE / NOT EXCLUSIVE
IMPLEMENTATION OF HPPการนำ HPP สู่การปฏิบัติ HPP X Competitiveness การแข่งขัน HIA EIA / PARTNERSHIP การเป็นหุ้นส่วนต่อกัน
กระบวนการ • INTEREST / NOT POSITION • ยึดผลประโยชน์หรือความต้องการ / ไม่ยึดจุดยืน • แสวงหาผลประโยชน์ร่วม ( COMMON INTEREST) ที่มุ่งสู่ทางออก (SOLUTIONS) หรือ ทางเลือก ( OPTIONS) ที่ยอมรับได้ (MUTUAL BENEFIT)
นายกฯ ทักษิณ พบสาธารณสุข 18 กันยายน 2546 ณ ศูนย์ประชุมอิมแพค เมืองทองธานี นนทบุรี “ เราต้องเป็น Partner กันให้คนไทยแข็งแรง และประเทศไทยแข็งแรง 30 บาท คือปลายทาง การทำให้คนไทยแข็งแรงคือ ต้นทาง” “นโยบายสร้างความแข็งแรงให้คนไทย เป็นนโยบายประชานิยม มุ่งหวังให้คนไทยทุกคนเข้มแข็งทั้งกายและใจ จะสำเร็จได้จาก Partnership ของคนในองค์กรร่วมกันทุกองค์กร (It’s all about people)
PARTICIPATION Withdraws Authority ใช้อำนาจ ปล่อยวาง Joins ร่วม Consults ปรึกษา Sells ขาย Participation มีส่วนร่วม Tells สั่ง
ความต่อเนื่องของการมีส่วนร่วมParticipation Continuum ข้อมูล Information ปรึกษาหารือ Consultation เจรจา Negotiation ลงประชามติ Referendum Purpose วัตถุประสงค์ Inform แจ้งให้ทราบ Educate ให้ความรู้ Gather Information รวบรวมข้อมูล Consult on Reactions ปรึกษา Define Issues พิจารณา ประเด็น Test Ideas. Seek Advice ตรวจสอบความเห็น คำแนะนำ Seek Consensus แสวงหาฉันทามติ Delegate กระจายอำนาจ สู่ประชาชน Some Applicable Methods : วิธีการบางชนิดที่ใช้ : Position Papers เอกสารเกี่ยวกับเรื่องที่เกี่ยวข้อง Written Briefs บทสรุป บันทึกย่อ Opinion Surveys สำรวจความคิดเห็น Discussion Forums เปิดอภิปราย Public Hearings ประชาพิจารณ์ Workshop สัมมนา Task Groups คณะศึกษา Advisory Committees กรรมาธิการที่ปรึกษา Joint Processes กระบวนการร่วมกัน Increasing Expectations เพิ่มความคาดหวัง Increasing Commitment เพิ่มความยึดมั่นผูกพัน
การมีส่วนร่วมของประชาชนและการแก้ปัญหาความขัดแย้งPublic Participation and Conflict Resolution กระบวนการปรึกษาหารือ การแลกเปลี่ยนข้อมูล (information exchange) การให้คำแนะนำระหว่างกัน (Recommendation) การตกลงร่วมกัน (Agreement) • คำแนะนำที่ไม่ผูกมัด • (Non binding Advice) • ข้อเสนอแนะ • (Recommendation) • ข้อมูล • ความคิดเห็น • ทางเลือก • การบรรลุข้อตกลง • ปฏิบัติได้
การมีส่วนร่วมของประชาชนและการแก้ปัญหาความขัดแย้งPublic Participation and Conflict Resolution กระบวนการปรึกษาหารือ การแลกเปลี่ยนข้อมูล (information exchange) การให้คำแนะนำระหว่างกัน (Recommendation) การตกลงร่วมกัน (Agreement) • การเจรจาไกล่เกลี่ย • การเจรจาไกล่เกลี่ย • คนกลาง • การแสวงหาฉันทามติ • เช่น การทำโครงการฯ • การวางระบบบริการ • การวางระบบการรับ • ผิดและค่าใช้จ่าย • การประชุมร่วมกับผู้มีส่วน • ได้เสียทุกฝ่าย • การประชุมเจาะลึกเฉพาะ • กลุ่ม • การปรึกษาประชาชน • จัดสัมมนา • จัดประชุมโต๊ะกลม • การประชุมคณะกรรมการ • ที่ปรึกษา รพ. • การประชุมคณะที่ปรึกษา • ฝ่ายประชาชน • การประชุมวิชาการการ • แพทย์ • การแสวงหาความจริงร่วม • กัน
การมีส่วนร่วมของประชาชนและการแก้ปัญหาความขัดแย้งPublic Participation and Conflict Resolution กระบวนการปรึกษาหารือ การแลกเปลี่ยนข้อมูล (information exchange) การให้คำแนะนำระหว่างกัน (Recommendation) การตกลงร่วมกัน (Agreement) • การเปิดรับฟังความเห็น • การเยียมเยียน • การแสวงหาความจริงร่วมกัน • สถานภาพความมั่นคงของ • โรงพยาบาล • สภาพปัญหาของ รพ. กลวิธีแก้ไขความขัดแย้ง (Conflict Resolution : Mediation) กลวิธีป้องกันความขัดแย้ง (Conflict Prevention : Public Participation)
There is significant overlap between The principles and tools for conducting Public Participation and Conflict Resolution. ในการดำเนินการ “การมีส่วนร่วมของประชาชนและ การแก้ปัญหาความขัดแย้ง” มีความเหมือนกันที่ สำคัญทั้งหลักการและเครื่องมือ Resolve Inc and International Partner, 2000
ขอบเขตของการศึกษา EIA(SCOPING OF EIA) 4 ด้าน ( 4 TIERS) • ศึกษาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมกายภาพ • ศึกษาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมชีวภาพ • ศึกษาคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ • ศึกษาคุณภาพชีวิต (ที่มา : พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535)
การประเมินผลกระทบจากการพัฒนาที่มีต่อปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมและส่งผลต่อสุขภาพอนามัยการประเมินผลกระทบจากการพัฒนาที่มีต่อปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมและส่งผลต่อสุขภาพอนามัย EIA EHIA HIA • 4 ด้านสำคัญ • กายภาพ • ชีวภาพ • การใช้ประโยชน์ • คุณภาพชีวิต Common Areas • 3 ด้านสำคัญ • อันตรายจากการเกิดโรค • (Health Hazard) • โอกาสการเกิดอันตรายจากโรค • (Health risk) • การเปลี่ยนแปลงตามความเสี่ยง • ในอนาคต (Health Impact) ?
EIA HIA COMMON POLICY MUTUAL BENEFIT คนเป็นศูนย์กลาง HUMAN BEING CENTERED HARMONY OF NATURE SIA
SECTORS INTEGRATION • ISSUES • understanding trust • policy strategy • role / responsibility • partnership not competitive • collaboration • co-operation common ground activity • co-ordination • OPTIMAL CONSIDERATION มุ่งสู่คนเป็นศูนย์กลาง
ความสัมพันธ์เป็นตัวกำหนดความสำเร็จความสัมพันธ์เป็นตัวกำหนดความสำเร็จ Relationship determine success Philip B crosby The Eternally Successful Organisation ความสัมพันธ์เป็นความจำเป็นพื้นฐานของมนุษย์ Relationships are fundamental Human Need Wayne E. Baker Networking Smart
จิตนาการสู่ความคิดสร้างสรรค์ ทำอย่างไร ? การคาดเดา (ANTICIPATION) ภูมิปัญญา (INTELLEGENCE) ความคิดสร้างสรรค์ (INNOVATION) + จินตนาการ (IMAGINATION) Banpot/H.conflict.course conclusion/2003
หัวใจของการกำหนด HPP คือ การมีส่วนร่วม สาเหตุสำคัญความล้มเหลว • ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการ • ความไม่สมดุลของคุณค่ามิติต่างๆที่เป็นปัจจัยกำหนดสุขภาพ (HEALTH DETERMINANTS)