540 likes | 980 Views
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ระเบียบ กค. ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ.2549 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552. บรรยายโดย พ.ท. ปฏิวัติ คำหอม อจ.รร. กง.กง.ทบ. ประวัติผู้บรรยาย.
E N D
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมระเบียบ กค. ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ.2549และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552 บรรยายโดย พ.ท.ปฏิวัติ คำหอม อจ.รร.กง.กง.ทบ.
ประวัติผู้บรรยาย • ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศบ.) (การจัดการทั่วไป) • นนส.ทบ. รุ่นที่ ๑๗/๒๗ (ไม่น้อยใจในโชคชะตา) • หลักสูตรชั้นนายร้อย เหล่า กง. รุ่นที่ ๔๙ • หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่า กง. รุ่นที่ ๔๓ • เกณฑ์คงค้าง ระดับนายทหารบัญชี รุ่นที่ ๑ • นายทหารปลัดบัญชี รุ่นที่ ๒๘ • หลักสูตรการอบรมสำหรับผู้บริหารงานการเงินรุ่นที่ ๓
ประวัติรับราชการ • เสมียนการเงิน จทบ.พ.บ. ( มทบ.๑๕) • ฝกง.พัน.ร.รร.จปร. • นายทหารรับจ่ายเงิน จทบ.พ.บ. (มทบ.๑๕) • นายทหารควบคุมการเบิกจ่าย จทบ.ร.บ. • นายทหารการเงิน รพ.ค่ายธนะรัชต์ • ผช.ฝกง.ศร. • ประจำแผนก รร.กง.กง.ทบ. • อจ.รร.กง.กง.ทบ.
ความหมาย “การฝึกอบรม” หมายถึง - การอบรม - การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ - การสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ - การบรรยายพิเศษ - การฝึกศึกษา การดูงาน การฝึกงาน - หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่นทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีโครงการหรือหลักสูตรและช่วงเวลาจัดที่แน่นอน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ประเภทของการฝึกอบรม(ระเบียบ กค ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ พ.ศ.2549 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ประเภท ก (แทนการฝึกอบรมระดับสูง) 2. ประเภท ข (แทนการฝึกอบรมระดับกลาง และ ระดับต้น) 3. การฝึกอบรมบุคคลภายนอก การฝึกอบรมประเภท ก หมายถึง - การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลากรของรัฐ - เป็นข้าราชการตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น และระดับสูง - หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า (ระดับ 9 หรือ พ.อ.(พ)ขึ้นไป)
ประเภทของการฝึกอบรม(ระเบียบ กค.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ พ.ศ.2549 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552) การฝึกอบรมประเภท ข หมายถึง - การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลากรของรัฐ - เป็นข้าราชการตำแหน่งประเภท อำนวยการระดับต้น - หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า (ไม่เกินระดับ 8 หรือ ชั้นยศ พ.อ.) การฝึกอบรมบุคคลภายนอก หมายถึง - การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่ง มิใช่บุคลากรของรัฐ (ให้จัดได้เฉพาะภายในประเทศเท่านั้น ข้อ 10)
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม(ระเบียบ กค.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ พ.ศ.2549 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552) โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม ต้องได้รับอนุมัติจาก หน.ส่วนราชการ(ข้อ 8) บุคคลที่สามารถเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม มีดังนี้ (ข้อ 11) (ค่าใช้จ่ายให้ส่วนราชการ ผู้จัดเป็นผู้เบิกจ่าย แต่ถ้าจะเบิกจ่ายจากต้นสังกัด ให้ทำได้เมื่อผู้จัดร้องขอและต้นสังกัดยินยอม) 1. ประธานในพิธี แขกผู้มีเกียรติและผู้ติดตาม 2. เจ้าหน้าที่ 3. วิทยากร 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ (ให้ส่วนราชการผู้จัดการฝึกอบรม เบิกค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง โดยคำนึงถึงความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด ยกเว้นค่าสมนาคุณวิทยากร ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก และค่าพาหนะ ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กำหนด ข้อ 15)
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร(ข้อ 16) (ระเบียบ กค.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ พ.ศ.2549 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552) 1. ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการบรรยาย ให้จ่ายได้ไม่เกิน 1 คน 2. ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นอภิปรายหรือสัมนาเป็นคณะ ให้จ่าย ได้ไม่เกิน 5 คน(รวมผู้อภิปราย) 3. ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่ม อภิปราย หรือสัมมนา หรือแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม (ต้องกำหนดไว้ในโครงการฯ และจำเป็นต้องมีวิทยากรประจำกลุ่ม)ให้จ่ายได้ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร(ข้อ 16)(ระเบียบ กค.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ พ.ศ.2549 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552) 4. ชั่วโมงการฝึกอบรมใดมีวิทยากรเกินกว่าจำนวนที่กำหนดไว้ตาม(1)-(3) ให้เฉลี่ยจ่ายค่าสมนาคุณฯ ไม่เกินจำนวนเงินที่จ่ายได้ตามหลักเกณฑ์ 5. การนับชั่วโมงการฝึกอบรม 5.1 ให้นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรม 5.2 ไม่ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 5.3 ชั่วโมงการฝึกอบรม ต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า 50 นาที 5.4 ชั่วโมงการฝึกอบรม ไม่ถึง 50 นาทีแต่ไม่น้อยกว่า 25 นาที (25-49นาที) ให้จ่ายค่าสมนาคุณได้ กึ่งหนึ่ง
การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร (ผนวก จ)(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53) 1. วิทยากร 1.1 กรณีวิทยากรสังกัดหน่วยงานที่จัดฝึกอบรม 1.1.1 ต้องไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่ง ซึ่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กำหนดให้มีหน้าที่เป็นวิทยากรในการฝึกอบรมประจำหน่วยงานผู้จัด 1.1.2 กรณีที่มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง มิได้กำหนดให้มีหน้าที่เป็น วิทยากรประจำหน่วยงานผู้จัด แต่ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติปกติประจำจะต้อง ทำหน้าที่เป็นวิทยากรในการฝึกอบรมในหน่วยงานที่ตนสังกัด
การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร (ผนวก จ)(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53) 1.2 กรณีเป็นวิทยากรต่างสังกัดกับหน่วยงานที่จัดฝึกอบรม ไม่อยู่ในบังคับ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในข้อ 1.1 1.3 การฝึกอบรมที่หน่วยงาน ทบ. จัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ถ้าวิทยากรได้รับ ค่าสมนาคุณจากหน่วยงานอื่นแล้ว ให้งดเบิกค่าสมนาคุณจาก ทบ. 2. หลักเกณฑ์การจ่าย การนับชั่วโมงการฝึกอบรม ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับ ระเบียบ กค.ว่าด้วยการ ฝึกอบรมฯ พ.ศ.2549
การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร (ผนวก จ)(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53) 3. อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร 3.1 การฝึกศึกษาตามหลักสูตรในประเทศ
การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร (ผนวก จ)(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53) 3.2 หลักสูตรภาษาต่าง ๆ ของกองภาษา ยศ.ทบ. 3.2.1 ชาวต่างประเทศ สอนภาษาอังกฤษทุกหลักสูตร ชั่วโมงละ 800.- บาท 3.2.2 บุคคลที่ไม่ใช่บุคลากรของรัฐ และชาวต่างประเทศที่สอนภาษาประเทศ ใกล้เคียงและภาษาท้องถิ่นทุกหลักสูตร ชั่วโมงละ 600.- บาท 3.2.3 ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ สังกัดส่วนราชการหรือหน่วยงาน อื่นของรัฐ ชั่วโมงละ 400.- บาท 3.2.4 ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ใน กห ชั่วโมงละ 200.- บาท
การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร(ของ กค.)(ระเบียบ กค.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552) อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร (ข้อ 16 (2) ( (ก) (ข) )แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552)
การจัดที่พักให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม (ผนวก ฉ)(ระเบียบ กค.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ พ.ศ.2549 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552)(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53)และ(กห0406/19027 ลง16ม.ค.55 อัตรา 1 ก.พ.55)
การจัดที่พักให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม และอัตราค่าเช่าที่พัก(ของ กค.)(ระเบียบ กค.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552)
หลักฐานประกอบการเบิกจ่ายค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมในประเทศ(ผนวก ข ถือปฏิบัติตั้งแต่ 1 ก.พ.55 เป็นต้นไป(สปช.ทบ.ที่ กห 0406/19027 ลง 16 ม.ค.55)) กรณีเข้าพักแรม ณ ที่พักของทางราชการ (ถ้าเป็นที่พักของเอกชนจะมีใบเสร็จฯอยู่แล้ว) 1.ส่วนราชการเจ้าของสถานที่พักรับรอง ออกใบเสร็จรับเงิน โดยให้ระบุรายละเอียดว่าพัก บ้านพักหรือโรงนอน จำนวนกี่คืน กี่คน มีใครบ้าง หากไม่มีใบเสร็จรับเงิน ให้ออกใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน(บก.111) หรือ กง.2 ให้ส่วนราชการเจ้าของหลักสูตร หรือผู้เข้ารับการอบรม ที่ผู้จัดหลักสูตรไม่จัดที่พักให้ 2. ผู้เข้ารับการอบรม หากผู้จัดหลักสูตรไม่จัดที่พักให้ ต้องมีเอกสารดังนี้ 2.1 เอกสารของผู้จัดการฝึกอบรมระบุว่า ผู้เข้ารับการอบรมจะต้อง รผช.คชจ.ที่พัก 2.2 ใบเสร็จรับเงิน หรือใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน(บก.111) หรือ กง.2
ค่าใช้จ่ายในการฝึกศึกษาหลักสูตรตามแนวทางรับราชการและหลักสูตรอื่นๆ(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ก) หมายถึง หลักสูตรการเพิ่มพูนความรู้ด้วยการศึกษาและฝึกปฏิบัติ ตามหลักสูตรที่ ทบ.อนุมัติ (ไม่ครอบคลุมหลักสูตรการผลิตกำลังพล) เช่น หลักสูตรของเหล่าและสายวิทยาการ กรม ฝสธ., ยศ.ทบ. และ สบส.เป็นต้น และให้รวมถึงการดูงานที่กำหนดไว้ในหลักสูตรด้วย (งดเบิกจ่ายค่าพาหนะรับจ้าง ตามมาตรการประหยัด ทบ.)
หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/18167ลง 10 ส.ค.52(หนังสือ กรมบัญชีกลางที่ กค(กวพ)0421.3/ว139 ลง 8 มิ.ย.52) การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ พัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในการจัดอาหารอาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่าเช่าที่พัก ของส่วนราชการตามระเบียบ กค.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ พ.ศ.2549 การปฏิบัติ ให้หน่วยปฏิบัติดังนี้ คือ ไม่ต้องดำเนินกรรมวิธีจัดหา แต่ให้ จนท.ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการฝึกอบรม ติดต่อ ผู้รับจ้างเพื่อให้มีการ จัดอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม ที่พัก สำหรับการ ฝึกอบรม / ไม่ว่า.........
หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/18167ลง 10 ส.ค.52(หนังสือ กรมบัญชีกลางที่ กค(กวพ)0421.3/ว139 ลง 8 มิ.ย.52)(ต่อ) ไม่ว่ากรณีหน่วยเป็นผู้จัดฝึกอบรมโดยเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาหาร ค่าที่พัก หรือหน่วยผู้จัดฯ เป็นผู้ติดต่อประสานงาน เรื่องจัดอาหาร หรือ ที่พัก ให้หน่วยใช้หลักฐาน หรือเอกสารประกอบการเบิกจ่าย ดังนี้ 1. หลักฐานการอนุมัติให้จัดฝึกอบรม 2. หลักฐานการอนุมัติให้เดินทางไปฝึกอบรม 3. บัญชีรายชื่อจำนวนผู้ฝึกอบรม 4. ใบเสร็จรับเงิน หรือ กง.2 หรือ บก.111 แล้วแต่กรณี 5. ใบแจ้งรายการค่าใช้จ่ายระหว่างการฝึกอบรม
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ก) 1.คชจ.พิธีปิด-เปิดรวมตกแต่งสถานที่ จ่ายจริงไม่เกิน 1พัน 2.ค่าพิมพ์ใบประกาศรวมซอง จ่ายจริงไม่เกินใบละ 15.- 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเฉพาะพิธีเปิด-ปิด เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ 20.-/ครั้ง 4. ค่าเครื่องดื่มวิทยากร จ่ายจริงไม่เกินคนละ 20.-/ครึ่งวัน 5.ค่าสมนาคุณวิทยากร ตามผนวก จ
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ก) 6. ค่าอาหาร เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กำหนด 6.1 ฝึกศึกษาในห้องเรียน จัดอาหาร 1 มื้อ(กลางวัน) ทุกระดับเท่ากัน ไม่เกินคนละ 75.-บาท 6.2 ฝึกศึกษาในเวลากลางคืน (จู่โจม , ร่ม, ทหารเสือ และ หลักสูตรอื่นที่เหมือนกัน ไม่เกินคนละ 150.-/วัน 7.การดูงาน การออกฝึกระหว่างศึกษา ทั้งใน-ต่างประเทศ งดเบิกค่าอาหาร เบิกเบี้ยเลี้ยงตามอัตรา พรฎ.เดินทาง 26
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ก) 8.ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง อัตราและหลักเกณฑ์ ให้ปฏิบัติตาม พรฎ.คชจ.เดินทาง ปี 26 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้ 8.1 กรณีไม่จัดอาหาร จ่ายเบี้ยเลี้ยงเต็มตามอัตราใน พรฎ. 8.2 กรณีจัดอาหาร ให้จ่ายเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ดังนี้ 8.2.1 จัดอาหาร 1 มื้อ ให้จ่าย 2 ใน 3 ของอัตราปกติ 8.2.2 จัดอาหาร 2 มื้อ ให้จ่าย 1 ใน 3 ของอัตราปกติ 8.2.3 จัดอาหารครบทุกมื้อ งดจ่าย
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ก) 9. ค่าเช่าที่พัก 9.1 การฝึกศึกษาในห้องเรียน งดเบิก 9.2 การดูงาน การออกฝึกระหว่างศึกษา ตามผนวก ฉ 10.ค่าของสมนาคุณในการดูงานในประเทศของหลักสูตร 10.1 ประเภท ก 1,200.-บาท 10.2 ประเภท ข 800.-บาท
ค่าใช้จ่ายในการประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ(ผนวก ข) การประชุม หมายถึง การให้ความรู้โดยการบรรยายเช่นเดียวกับการอบรม แต่เป็นการ ให้ความรู้เพียงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และอาจกำหนดให้มีการฝึกปฏิบัติด้วยก็ได้ การสัมมนา หมายถึง การประชุมในลักษณะการระดมความคิด การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น เพื่อนำข้อสรุปที่ได้ไปพัฒนาหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และอาจ กำหนดให้มีการฝึกปฏิบัติด้วยก็ได้ กรณีต้องมาพักค้างคืน ณ สถานที่จัดประชุมสัมมนา ซึ่งมีสัมภาระมาด้วยให้เบิกค่า พาหนะรับจ้างได้เฉพาะกรณี เดินทางจากที่พักไปสถานีขนส่ง และ จากสถานีขนส่งไปสถาน ที่จัดประชุมสัมมนา เที่ยวไปและเที่ยวกลับ ในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 100.-บาท/คน/เที่ยว
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ข) 1.คชจ.พิธีปิด-เปิดรวมตกแต่งสถานที่ จ่ายจริงไม่เกิน 1พัน 2.ค่าเช่าห้องประชุม/สัมมนา/อุปกรณ์ เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น ไม่เกิน 5,000.-บาท/วัน 3. ค่าสมนาคุณวิทยากร ตามผนวก จ 4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ทั้งในพิธีและระหว่างสัมมนาฯ 4.1จัดในที่ของ สรก.ทบ. จ่ายจริงไม่เกินคนละ 20.-/ครึ่งวัน 4.2จัดในที่ สรก.อื่น /รวก. จ่ายจริงไม่เกินคนละ 20.-/ครึ่งวัน 4.3จัดในสถานที่เอกชน จ่ายจริงไม่เกินคนละ 50.-/ครึ่งวัน
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ข) 5.ค่าอาหาร เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราดังนี้ 5.1จัดในสถานที่ของ ทบ. ทั้งประเภท ก-ข ให้จ่ายเท่ากัน 5.1.1 ประชุม/สัมมนา (เช้า-บ่าย)มื้อเที่ยงไม่เกินคนละ75.- 5.1.2 ถ้าจำเป็นต้องสัมมนา (บ่าย-ค่ำ) มื้อเย็นไม่เกินคนละ100.- 5.2จัดในที่หน่วยงานอื่นของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ(รวก.) 5.2.1 ประเภท ก ไม่เกินคนละ 100 / 150 / 200 ต่อมื้อ 5.2.2 ประเภท ข ไม่เกินคนละ 75 / 125 / 175 ต่อมื้อ
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ข) 5.3 จัดในสถานที่ของเอกชน 5.3.1 ประเภท ก ไม่เกินคนละ 150 / 300 / 400 ต่อมื้อ 5.3.2 ประเภท ข ไม่เกินคนละ 150/ 250 / 300 ต่อมื้อ 6.ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง อัตราและหลักเกณฑ์ ให้ปฏิบัติตาม พรฎ.คชจ.เดินทาง ปี 26 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้ 6.1 กรณีไม่จัดอาหาร จ่ายเบี้ยเลี้ยงเต็มตามอัตราใน พรฎ. 6.2 กรณีจัดอาหาร ให้จ่ายเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ดังนี้ 6.2.1 หน้าต่อไปครับ
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ข) 6.2.1 จัดอาหาร 1 มื้อ ให้จ่าย 2 ใน 3 ของอัตราปกติ 6.2.2 จัดอาหาร 2 มื้อ ให้จ่าย 1 ใน 3 ของอัตราปกติ 6.2.3 จัดอาหารครบทุกมื้อ งดจ่าย 7. ค่าเช่าที่พัก จ่ายตามผนวก ฉ 8. ค่ากระเป๋า/แฟ้มเอกสาร ให้เฉพาะผู้ร่วมประชุม/สัมมนา ประเภท ก เท่าที่จ่ายจริงใบละไม่เกิน 150.-บาท ประเภท ข เท่าที่จ่ายจริงใบละไม่เกิน 100.-บาท
ค่าใช้จ่ายในการอบรมหรือการบรรยายพิเศษ (ผนวก ค) การอบรม หมายถึง การให้ความรู้โดยการบรรยายและการตอบปัญหา จากวิทยากรเพียงฝ่ายเดียว การบรรยายพิเศษหมายถึง การให้ความรู้โดยการบรรยายในเรื่องที่ ส่วนราชการเห็นสมควรให้ความรู้พิเศษเพิ่มเติมแก่ข้าราชการและลูกจ้าง การจัดฯ ให้จัดในสถานที่ของส่วนราชการใน ทบ.
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ค) 1.ค่าใช้จ่ายพิธีเปิด-ปิด รวมค่าตกแต่งสถานที่ เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 500.- บาท 2. ค่าสมนาคุณวิทยากร ตามผนวก จ 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในพิธีเปิด-ปิด และ ระหว่างการอบรม/บรรยาย เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ 20.- บาทต่อครึ่งวัน 4. ค่าอาหาร เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราดังนี้ 4.1การอบรม/บรรยายใน (ครึ่งวันเช้า-ครึ่งวันบ่าย) มื้อกลางวัน ไม่เกินคนละ 75.- บาท 4.2 ถ้าจำเป็นต้องจัดอบรมใน(ครึ่งวันบ่าย-ค่ำ) มื้อเย็น ไม่เกินคนละ 100.- บาท 5. ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง อัตราและหลักเกณฑ์ ให้ปฏิบัติ ตาม พรฎ.คชจ.เดินทางไปราชการ ปี 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้ 5.1 กรณีไม่มีการจัดอาหาร จ่ายเบี้ยเลี้ยงตามอัตรา ที่มีสิทธิได้รับ 5.2 กรณีมีการจัดอาหาร จ่ายเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ดังนี้ 5.2.1 จัดอาหาร 1 มื้อ ให้จ่าย 2 ใน 3 ของอัตราปกติ 5.2.2 จัดอาหาร 2 มื้อ ให้จ่าย 1 ใน 3 ของอัตราปกติ 6. ค่าเช่าที่พัก จ่ายตามผนวก ฉ 7.ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเอกสารตำรา, ค่าวัสดุ, เครื่องเขียนและอุปกรณ์ เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น ในลักษณะประหยัด
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมบุคคลภายนอก (ผนวก ง) การฝึกอบรมบุคคลภายนอก หมายถึง การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ เช่น การฝึกทบทวนกำลังประชาชน การฝึก อบรมอาสาสมัครระวังภัย การฝึกอบรมโครงการหมู่บ้าน ปชค. ฯ กรณีฝึกอบรมประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติการ ซึ่งไม่มีสถานที่ของส่วนราชการ ในสังกัด ทบ. ให้ใช้สถานที่สาธารณะของหมู่บ้าน หรือวัด หรือสถานที่ในการ ประกอบกิจทางศาสนาเป็นสถานที่ในการจัดการฝึกอบรม
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมบุคคลภายนอก (ผนวก ง) ค่าเบี้ยเลี้ยง ให้จ่ายกับบุคคลที่มิใช่บุคลากรของรัฐ (ห้ามจ่ายให้กับ นักเรียน นักศึกษา) สำหรับข้าราชการ ลูกจ้าง พนง.ราชการ ใน ทบ. ให้จ่ายเช่นเดียวกับหลักเกณฑ์ใน (ผนวก ก) การเบิกจ่ายค่าพาหนะ สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่มิใช่บุคลากร ของรัฐ ให้เบิก ตามที่จ่ายจริง หรือในลักษณะ เหมาจ่าย ในประเภทเดียว ตลอดระยะเวลาการฝึกอบรม กรณีให้เบิกจ่าย ตามที่จ่ายจริง ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม จะต้อง แสดงหลักฐานการจ่ายจริง หากไม่มีหลักฐาน ให้ทำใบรับรองการจ่ายเงิน(บก.111) โดยชี้แจงรายละเอียดการเดินทาง
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ง) 1.คชจ.พิธีเปิด-ปิดรวมตกแต่งสถานที่ จ่ายจริงไม่เกิน 500.- 2. ค่าพิมพ์ใบประกาศรวมซอง จ่ายจริงไม่เกินใบละ 15.- 3.ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเอกสารตำรา, ค่าวัสดุ, เครื่องเขียนและ อุปกรณ์ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นในลักษณะประหยัด 4. ค่าสมนาคุณวิทยากร ตามผนวก จ 5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในพิธีเปิด-ปิด เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ 20.- บาท/ครั้ง
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ง) 6. ค่าอาหาร เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราดังนี้ 6.1 จัดอาหารครบทุกมื้อ ไม่เกินคนละ 120.-บาท/วัน 6.2 จัดอาหารไม่ครบทุกมื้อ 6.2.1 มื้อเช้า ไม่เกินคนละ 30.-บาท 6.2.2 มื้อกลางวัน ไม่เกินคนละ 40.-บาท 6.2.3 มื้อเย็น ไม่เกินคนละ 50.-บาท (ต่อข้อ 9.2.2 ยกเว้น ค่าเครื่องบิน/รถรับจ้าง ห้ามเบิกจ่าย
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ง) 7. ค่าเบี้ยเลี้ยง สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่มิใช่บุคลากร ของรัฐ กรณีไม่จัดอาหารหรือจัดให้บางส่วน 7.1 ไม่จัดอาหารทั้ง 3 มื้อ ไม่เกินคนละ 120.-บาท/วัน 7.2 จัดอาหาร 1 มื้อ ไม่เกินคนละ 80.-บาท/วัน 7.3 จัดอาหาร 3 มื้อ ไม่เกินคนละ 40.-บาท/วัน 8. ค่าเช่าที่พัก งดเบิกจ่าย (ให้จัดที่พักของหน่วยใน ทบ.)
(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ง) 9. ค่ายานพาหนะ 9.1กรณีจัดพาหนะ:ก่อน ระหว่างหรือหลังการฝึกอบรม ให้จัดตามสิทธิของนายทหารประทวน โดยให้เบิกจ่ายได้ เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นและประหยัด 9.2 กรณีไม่จัดยานพาหนะให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 9.2.1 ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มิใช่บุคลากรของรัฐ ให้เบิก ค่ารถโดยสาร ปจท.ได้เท่าที่จ่ายจริง ตามสิทธิชั้นประทวน 9.2.2 ผู้เข้ารับฯเป็น ขรก., ล/จ, พนง.ราชการ ใน ทบ. ให้ เบิกค่ารถโดยสาร ปจท.ได้เท่าที่จ่ายจริง ตาม พรฎ.ปี2526
ค่าเช่าที่พัก กรณีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นผู้จ่ายค่าเช่าที่พัก(เบิกจ่ายจากต้นสังกัด) (หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ช)
ค่าเช่าที่พัก กรณีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นผู้จ่ายค่าเช่าที่พัก(เบิกจ่ายจากต้นสังกัด)(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ช) 2.หน่วยงานที่จัดฝึกอบรมเป็นหน่วยงานนอก ทบ. (ก) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จัดหาที่พักเอง ให้เบิกค่าที่พักตามหลักเกณฑ์ในข้อ 1 (ข) หน่วยงานที่จัดฝึกอบรมจัดให้พักแรมรวมกัน โดยผู้เข้ารับการอบรม รับผิดชอบค่าใช้จ่าย กรณีนี้ให้เบิกค่าเช่าที่พักตามที่ผู้จัดการฝึกอบรมแจ้ง ทั้งนี้การเบิกต้องอยู่ภายใต้ระเบียบ กค.ว่าด้วยการฝึกอบรมฯ
ค่าเช่าที่พัก กรณีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นผู้จ่ายค่าเช่าที่พัก(เบิกจ่ายจากต้นสังกัด) (หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/6419 ลง 6 ต.ค.53 ผนวก ช) 3. การฝึกอบรมตามข้อ 1 และ 2(ก) ที่มีระยะเวลาเกิน 15 วัน ให้ผู้ฝึกอบรม เบิกค่าที่พัก ดังนี้ พ.อ.(พ) ลงมา ให้เบิกเหมาจ่ายไม่เกินอัตราคนละวันละ 300.-บาท พล.ต.ขึ้นไป ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราคนละวันละ 1,300.-บาท 4. การเบิกค่าเช่าที่พักตามข้อ 1 และ 2 ต้องมีหนังสือหรือเอกสาร ของผู้จัดการฝึกอบรม ซึ่งระบุว่า “ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเรื่องที่พัก”
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550 (ปัจจุบันใช้ระเบียบนี้ ยกเลิกปี 36) เงินตอบแทน หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการที่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ปกติ โดยลักษณะงานส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติงานในหรือนอกที่ตั้ง สนง. และได้ปฏิบัติงานนั้นนอก เวลาราชการในหรือนอกที่ตั้ง สนง. หรือปฏิบัติงานปกติในลักษณะเป็นผลัดหรือกะ และได้ปฏิบัติงานนั้นนอกผลัดหรือกะของตน เวลาราชการ หมายถึง เวลาระหว่าง 0830 ถึง 1630 ของวันทำการ และให้หมายความ รวมถึงช่วงเวลาอื่น ที่หน่วยกำหนดให้ปฏิบัติงานเป็นผลัดหรือกะ หรือเป็นอย่างอื่นด้วย
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550 (ปัจจุบันใช้ระเบียบนี้ ยกเลิกปี 36) วันทำการ หมายถึง วันจันทร์ถึงวันศุกร์ และให้รวมถึงวันทำการ ที่ส่วนราชการกำหนดเป็นอย่างอื่นด้วย วันหยุดราชการ หมายถึง วันเสาร์และวันอาทิตย์ หรือวันหยุดราชการ ประจำสัปดาห์ที่ส่วนราชการกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น และให้รวมถึงวันหยุด ประจำปีหรือวันหยุดพิเศษอื่นๆ ที่ ครม.กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการ
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550 (ปัจจุบันใช้ระเบียบนี้ ยกเลิกปี 36) การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการ เจ้าของงบประมาณหรือผู้ได้รับมอบหมายก่อนการปฏิบัติงานนอกเวลา กรณีมีความจำเป็น เร่งด่วนจะต้องปฏิบัติงานนอกเวลาโดยยังไม่ได้รับอนุมัติ ก็ให้ดำเนินการขออนุมัติโดยไม่ ชักช้า และแจ้งเหตุแห่งความจำเป็นที่ไม่อาจขออนุมัติก่อนได้ (ข้อ 5) กรณีข้าราชการได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการ ไม่มีสิทธิได้รับเงินตอบแทน เว้นแต่ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติฯ ก่อนการเดินทาง เมื่อจบภารกิจและกลับมาถึงที่ตั้งในวันใด หากจำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในวันนั้น ให้เบิกเงินตอบแทนได้ (ข้อ 6)
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550 (ปัจจุบันใช้ระเบียบนี้ ยกเลิกปี 36) การเบิกเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ให้เป็นไปตามอัตราและ หลักเกณฑ์ ดังนี้ (ข้อ 7) 1. วันราชการ ให้เบิกได้ไม่เกินวันละ 4 ชม. อัตรา ชม.ละ 50.-บาท 2. วันหยุดราชการ ให้เบิกได้ไม่เกินวันละ 7 ชม. อัตรา ชม.ละ 60.-บาท 3. กรณีจำเป็นต้องปฏิบัติงานซึ่งเป็นภารกิจหลักของหน่วยเป็นครั้งคราว เร่งด่วน หน.สรก. อาจสั่งให้ปฏิบัติงานนอกเวลาติดต่อกัน ให้เบิกเป็นรายครั้งๆละไม่เกิน 7 ชม.ๆละ 60.-บาท 4. การปฏิบัติงานนอกเวลาหลายช่วงในวันเดียวกัน ให้นับเวลาทุกช่วงรวมกัน เพื่อเบิกเงิน ตอบแทนสำหรับวันนั้น 5. การปฏิบัติงานนอกเวลาที่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนอื่นของทางราชการสำหรับการปฏิบัติ งานนั้นแล้ว ให้เบิกได้ทางเดียว
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550 (ปัจจุบันใช้ระเบียบนี้ ยกเลิกปี 36) การปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ ไม่อาจเบิกเงินตอบแทนได้ (ข้อ 8) 1.การอยู่เวรรักษาการณ์ ตามระเบียบว่าด้วยการ รปภ.แห่งชาติ หรือตามระเบียบ หรือตามคำสั่งอื่นใดเกี่ยวกับการ รปภ.สถานที่ราชการ ไม่มีสิทธิเบิกเงินตอบแทน 2. การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ไม่เต็มจำนวนชั่วโมง การควบคุมดูแลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ให้ปฏิบัติดังนี้ (ข้อ 9) 1.กรณีมีผู้ปฏิบัติงานร่วมกันหลายคน ให้คนใดคนหนึ่งเป็นผู้รับรองการปฏิบัติงาน หากเป็น การปฏิบัติเพียงคนเดียว ก็ให้ผู้นั้นเป็นผู้รับรอง 2.ให้รายงานผลการปฏิบัติ ต่อผู้มีอำนาจอนุมัติตาม(ข้อ 5) ภายใน 15 วันนับแต่วันเสร็จสิ้น การปฏิบัติงาน
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550 (ปัจจุบันใช้ระเบียบนี้ ยกเลิกปี 36)
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550 (ปัจจุบันใช้ระเบียบนี้ ยกเลิกปี 36) การเบิกจ่ายเงินตอบแทนที่นอกเหนือหรือแตกต่างจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง (ข้อ 11) ตามระเบียบในข้อ 4 ผู้มีสิทธิเบิกเงินตอบแทนได้กำหนดไว้เฉพาะข้าราชการ หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค 0409.6/ว436 ลง 18 ธ.ค.50 เรื่อง ซ้อมความเข้าใจฯ 1.ลูกจ้างของส่วนราชการ(ลปจ.,ลชค.)ที่รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณ ให้เบิกจ่ายเงินตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ ตามระเบียบ กค.ฯ โดยอนุโลม 2. ลูกจ้างชั่วคราวที่รับค่าจ้างจากเงินนอกงบประมาณ ให้เบิกจ่ายได้ ตามระเบียบ กค.ฯ โดยอนุโลมเช่นกัน แต่ให้จ่ายจากเงินนอกงบประมาณที่เป็นแหล่งเงินเดียวกับเงินที่จ่ายค่าจ้าง 3.พนักงานราชการ ให้เป็นไปตามระเบียบ สร.ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547 และประกาศ คณก.บริหาร พนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของ พนง.ฯ(ฉ/3) ได้กำหนดไว้เป็นการเฉพาะแล้ว
การเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของ ทบ.(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/04686 ลง 11 เม.ย.50) เพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด สอดคล้องกับ มาตรการประหยัดของ ทบ. เห็นควรให้หน่วยใน ทบ.ถือปฏิบัติ ดังนี้ 1. การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในวันทำการ เวลาปฏิบัติงานต้อง ไม่น้อยกว่า 2 ชม. ให้เบิกจ่ายอัตรา ชม.ละ 30.-บาท เบิกจ่ายได้ไม่เกิน 90.-บาท/คน/วัน 2. การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในหยุดวันทำการ เวลาปฏิบัติงานต้องไม่น้อยกว่า 3 ชม. ให้เบิกจ่ายอัตรา ชม.ละ 30.-บาท เบิกจ่ายได้ไม่เกิน 150.-บาท/คน/วัน 3. สำหรับลูกจ้างรายเดือนและพนักงานราชการ ที่ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาฯ มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนฯ ตามอัตราและหลักเกณฑ์ในข้อ 1 และ 2 เช่นเดียวกับข้าราชการ
การเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของ ทบ.(หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห 0406/04686 ลง 11 เม.ย.50) 4.การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการจะต้องได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบฯ (คำสั่ง ทบ.ที่ 138/2550 ลง 23 เม.ย.50) สำหรับ ทบ.นั้น หมายถึง ผบ.ทบ. ซึ่งได้มอบอำนาจให้ ผบ.หน่วยถืองบประมาณ, มทภ. หรือ ผบ.หน่วย ซึ่งเทียบเท่า มทภ. ที่ได้รับงบประมาณ แล้วแต่กรณี เป็นผู้พิจารณา อนุมัติ ให้ปฏิบัติงานนอกเวลาฯได้ตามความจำเป็น ให้มีผู้ควบคุมดูแลการลงเวลา และการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด ให้รายงานผลการปฏิบัติงาน ต่อผู้มีอำนาจอนุมัติทราบ ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่เสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน