1.26k likes | 1.62k Views
การบริการที่เป็นมิตรและอบรมภาษาพม่าเบื้องต้น สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข. มูลนิธิรักษ์ไทย สมุทรปราการ. วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการและแรงงานข้ามชาติ 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่บริการสาธารณสุขมีความเข้าใจเรื่องสิทธิมนุษยชน
E N D
การบริการที่เป็นมิตรและอบรมภาษาพม่าเบื้องต้น สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มูลนิธิรักษ์ไทย สมุทรปราการ
วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการและแรงงานข้ามชาติ 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่บริการสาธารณสุขมีความเข้าใจเรื่องสิทธิมนุษยชน 3.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีทักษะความรู้เพิ่มเติมในด้านภาษา เพื่อลดปัญหาด้านการสื่อสารกับแรงงานข้ามชาติ
กรอบการอบรมในครั้งนี้กรอบการอบรมในครั้งนี้ • ง่าย (ไม่ยากจนเกินไป) • ยืดหยุ่น • เฉพาะจุด • ใช้ได้จริง
พยัญชนะภาษาพม่า พยัญชนะเดี่ยวมี 33 รูป พยัญชนะผสมมี 18 รูป 11 เสียง สระมี 3ประเภท -สระสามัญ -สระสั้น -สระยาว ตัวเลข 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
เริ่มต้นต้องรู้ก่อน การเรียงคำพูดในภาษาไทย ประธาน+กริยา+กรรม ฉัน+กิน+ข้าว การเรียงคำพูดในภาษาเขมร ประธาน+กริยา+กรรม ขยม+โฮบ+บาย การเรียงคำพูดในภาษาพม่า ประธาน+กรรม+กริยา+(คำลงท้าย) จะหน่อ+ทะมิน+ซา+(แด่) สำหรับภาษาพม่าคำลงท้ายนั้นสำคัญเพื่อให้รู้ว่าสิ่งที่เราพูดจบแล้ว *แด่ ใช้ลงท้ายประโยคในปัจจุบัน เช่น ฉันกินข้าว *แหม่ ใช้ลงท้ายประโยคในอนาคต เช่น ฉันจะกินข้าว *บี ใช้ลงท้ายประโยคในอดีต เช่น ฉันกินข้าวแล้ว
ตัวอย่าง ภาษาไทยฉัน + กิน + ข้าว ภาษาพม่า จะหน่อ +ทะมิน +ซา + แด่ ภาษาไทย แพทย์ + ตรวจ + คนไข้ ภาษาพม่า สะยาวูงจี(ก๊ะ)+ลู่หน่า(โก๋)+ซิดเซ +แด่ หรืออาจละประธานได้ เช่น คอง+ไก้+แด่ (ปวดหัว)
ในการถาม อาจใช้คำว่า “ลา” วางต่อท้ายประโยคได้และใช้การลงน้ำหนักเสียง เป็นเสียงสูงเพื่อให้รู้ว่าเป็นการถาม เช่น หน่า-หลา ปวดไหม หน่าแด่ ปวด การสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาพม่า “ไม่” “บู”มีรูปแบบดังนี้ มะ+กริยา+บู(ไม่) มะ+กริยา+แน่ะ (ห้าม) (แน่ะ หรือหย่ะ) ตัวอย่าง มะ..หน่า...บู ไม่ปวด มะ..เต้า..แน่ะห้ามดื่ม คำตอบอาจเป็น ขิ่งพยาครับ ชิน ค่ะ
การสร้างคำถามอีกลักษณะหนึ่ง ใช้คำว่า “บ่า......แล” (อะไร) โดยมีคำกริยาวางไว้ตรงกลาง เช่น หน่าแหม แบโล คอ แล ชื่ออะไร บ่าซาแล กินอะไร บ่าโล๊ะแล ทำอะไร ถ้าต้องการถามที่เป็นประโยคคำถามที่ลงท้ายว่า “ที่ไหน” ภาษาพม่าใช้คำว่า “แบ่หม่า...แล” เช่น แบ่หม่า-เหน่-แล อยู่ที่ไหน แบ่หม่า-หน่า-แล ปวดตรงไหน
คำถามประโยคอยากทราบ จำนวน เท่าไร ใช้คำว่า แบ่-เล่า-(กริยา)-แล เช่น (งวย) ไป้สั่น-แบ่-เล่า-ชิ-แล มีเงินเท่าไร อะแต๊ะ-แบ่-เล่า-แล อายุเท่าไร คำถามประโยคอยากทราบ จำนวน กี่ ใช้คำว่า แบ่-นิ๊ด-(..ลักษณนาม..)-แล เช่น กะเล-แบ่-นิ๊ด-เย้า-ชิ-แล มีลูกกี่คน แบ่-นิ๊ด -หน่าหยี่ - แล กี่โมง แบ่-นิ๊ดหละ-แล กี่เดือน แบ่-นิ๊ด-แยะ-แล กี่วัน แบ่-หนะ-นิ๊ด-แล กี่ปี
คำถามที่แสดงให้รู้ว่าเป็นคำถาม เช่น บ่า-(กริยา)-แล อะไร บ่า-ซา-แล กินอะไร แบ่หม่า / แบ่-หม่า-แล ไหน / ที่ไหน แบ่-โหล่-(กริยา)-แล อย่างไร แบ่-โหล-หล่า-แล มาอย่างไร แบ่-ตู-แล ใคร บ่าโลเล ทำอะไร บ่าหม่าแล ที่ไหน แบโลแล อย่างไร แบ่-ตู-แน๊ะ-หล่า-แล มากับใคร
เพลง สวัสดี r*Fvmyg สวัสดี สวัสดี สวัสดี วันนี้เรามาพบกัน เธอกับฉัน พบกัน สวัสดี มิงกะลาปา มิงกะลาปา ดีเน๊ะมะส่งตุ้ยดา มีนแนะกู อะตูซงโต้ยดา มิงกะลาปาr*Fvmyg r*Fvmyg3 DaehrSmqkefawGhwmrif;eJhudk,f twlwlwGJ r*Fvmyg
หมวดคำทักทาย สวัสดี :มิง-กะ-ลา-ปา r*Fvmyg// สวัสดีคะ : มิง-กะ-ลา-ปา-ชี๊ r*Fvmyg// &Sif สวัสดีครับ :มิง-กะ-ลา-ปา -คิม-เบียร์ r*Fvmyg//cifAsm;
หมวดคำทักทาย สบายดีไหม?: เนเก๊า-หล่า aeaumif;vm;// สบายดี: เนเก๊า-แต aeaumif;w,f// แล้วคุณล่ะ...สบายดีไหม?: ตินยอ-เนเก๊าหล่า rifa&maeaumif;vm;//
หมวดคำทักทาย ชื่ออะไร: นาแม – แบโล - คอแล emrnfb,fvdkac:vJ? ผมชื่อ : จะเนาะ-นาแม (ชาย) uGsefawmfemrnf ฉันชื่อ: จะมะ-นาแม (หญิง) usremrnf
หมวดคำทักทาย ยินดีที่ได้รู้จัก :โต้ยย่ะ – ตา –วันตา -ปาแต awG h&wm0rf;omygw,f แล้วพบกันใหม่ : เปี่ยนโต้ย-จ๊ะแม jyefawG h}ur,f ขอให้โชคดี :กานเก๋า-ปาเซ uHaumif;ygap
หมวดคำทักทาย ขอเชิญ : จั๋วปา }uGyg ยินดีต้อนรับ : โจ่วโซ-ปาแต }uKdqkdygw,f ขอโทษ/ขออภัย : เต๋า-ป่าน-ปาแต cGifhvGwfay;yg
หมวดคำทักทาย ขอบคุณ : เจซู-ตินปาแต aus;Zl;wifygw,f ขอบคุณมาก : เจซู-อะเมียจี-ตินปาแต aus;Zl;trsm;}uD;wifygw, ลาก่อน : นุ๊กแซะ-ปาแต Ekwfqufygw,f
หมวดคำทักทาย กินข้าวหรือยัง: ทะมินซา-ปี้ปี่ลา xrif;pm;jyD;jyD;vm; กินแล้ว : ซาปี้ปี่ pm;jyD;jyD ยังไม่กิน : มะซายะ-เตบู rpm;&ao;bl; ครับ : ฮกแก้/คาเมีย cifAsm; ค่ะ : ฮกแก้/ฉิน &Sif
ใบงาน ที่ 1 • จับคู่ 2 คน ฝึกสนทนาทักทายและแนะนำตัวอย่างง่าย ๆ เป็นภาษาพม่า
แนวทางสรุปสำหรับวิทยากรแนวทางสรุปสำหรับวิทยากร • การทักทายถือเป็นมารยาททางสังคมที่ทุกคน ทุกเชื้อชาติ ยึดถือปฎิบัติ เพื่อทำความรู้จักและเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีร่วมกันคนพม่า แสดงการทักทาย โดยการจับมือกัน กรณีผู้สูงอายุ จะทักทายกล่าวคำสวัสดี ไม่ต้องจับมือเพื่อแสดงความเคารพ แต่ถ้าเอามือกอดอก และก้มศีรษะ ใช้กับหน่วยงานราชการ ห้องประชุม ครูบาอาจารย์ เป็นต้น กัมพูชา จะแสดงความเคารพด้วยการจับมือ และกอดทักทาย ส่วนไทย จะแสดงความเคารพด้วยการยกมือไหว้
หมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลขหมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลข 0 โตวยะ Okn 1 ติ๊ด Wpf 2 นิด ESpf 3 โต้ว okH; 4 เล av; 5 งา ig;
หมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลขหมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลข 6 เช่า ajcmuf 7 ckESpf คุนิด 8 ชิ่ด &Spf 9 ukd; โก 10 ตะ-แซ wpfq,f
หลัการนับเลข • นับเริ่มจากเลข 11 ถึง 19 นั้น มีหลักการนับคือ 10 = 10 + .................. อ่านว่า ตะแซ 15 = 10+5 อ่านว่า ตะแซ + งา (อ่าน แซงา)
หมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลขหมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลข 11 เเซติ๊ด q,fhwpf 12 เเซนิด q,fhESpf 13 เเซโต้ว q,fhokH; 14 เเซเล q,fhav; 15 เเซงา q,fhig;
หมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลขหมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลข 16 เเซเช่า q,fajcmuf q,fhukd; q,fhcGef 17 เเซคุนิด q,fh&Spf 18 เเซชิ่ด 19 เเซโก ESpfq,f 20 นะเเซ
การอ่านตพม่า จะนับโดย ผสมเรียงตามคำพูด • เช่น 21 อ่านว่า นิด –แซ –ติด (2+10+1)
หมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลขหมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลข 10 ติ๊ดเซ wpfq,f 20 นิดเซ ESpfq,f 30 โต้วเซ okH;q,f 40 เลเซ av;q,f 50 งาเซ ig;q,f
หมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลขหมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลข 60 เช้าเซ ajcmufq,f 70 คุนิดเซ ckESpfq,f 80 ชิ๋ดเซ &Spfq,f 90 โกเซ ukd;q,f
หมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลขหมวดการฝึกพูดจำนวนตัวเลข ตะยา wpf&m 100 ตะเทา wpfaxmif 1,000 10,000 ตะต้าว wpfaomif; 100,000 ตะเตง wpfodef; ตะตาน wpfoef; 1,000,000
หลักการผสมคำ 11 อ่านว่า ติ๊ดเซติ๊ด(แซติ๊ด) 48 อ่านว่า เลเซซิ่ด 109 อ่านว่า ติ๊ดย่าโก 469 อ่านว่า เลย่าเช่าเซโก 3,895 อ่านว่า โต้วเทาซิ่ด ย่าโกเซงา
แบ่งกลุ่ม • แบ่งกลุ่มเป็น 5 กลุ่ม • จากนั้นให้แต่ละกลุ่ม คิดโจทย์ตัวเลข ให้กับเพื่อน ประกอบด้วย หลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่น หลักแสน หลักล้าน พร้อมกับคิดเฉลย( 15 นาที) • จากนั้นนำตัวเลขที่คิดไว้ให้กับเพื่อน โดยให้เวลาในการตอบคำถาม 15 นาที
หมวดวัน-เดือน-ปี-เวลา เดือน พูดว่า ละ เดือนนี้ พูดว่า ยะคุละ
หมวดวัน-เดือน-ปี-เวลา ปี พูดว่า นิด ปีนี้ พูดว่า ยะคุนิด
หมวดวัน-เดือน-ปี-เวลา สัปดาห์ พูดว่า ตะป๊ะ สัปดาห์นี้ พูดว่า ดีตะป๊ะ
หลักการผสมคำ วันจะอยู่หลัง เช่น ตะ-หนิง-กะนุ่ย-เนะ อาทิตย์ +วัน
1สัปดาห์ มี 7 วันตะ-แป๊ะ-มา-คอน-เน๊ะ-แยะ-ชิแด๊ วันอาทิตย์ ตะนิน-กะนวยเนะ ตะนิน - ลาเนะ วันจันทร์ อิ่งกาเนะ วันอังคาร วันพุธ โป้ป-ตะฮูเนะ วันพฤหัสบดี จาตา-ปาเตเนะ เต๊าจาเนะ วันศุกร์ วันเสาร์ สะเหน่เนะ
1 ปี มี 12 เดือน ติ๊ด-นิด-ติ๊ด-แซ-นิด-ละ-ชิ-ดี
ตะเปาว์-ละ เดือนมกราคม เปียโต-ละ เดือนกุมภาพันธ์ ตะโบ๊ะตอย-ละ เดือนมีนาคม เดือนเมษายน ตะกู-ละ
กะโซง-ละ เดือนพฤษภาคม เดือนมิถุนายน นะโย่ง-ละ เดือนกรกฎาคม วาโซ-ละ เดือนสิงหาคม วาคาว-ละ
เดือนกันยายน ตอตะลิน-ละ ตะตินจูด-ละ เดือนตุลาคม เดือนพฤศจิกายน ตะเสามง-ละ นะดอ- ละ เดือนธันวาคม
ปีแคะแต้-ละ เดือนที่แล้ว เดือนต่อไป/เดือนหน้า เน่า-ละ