260 likes | 580 Views
การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนคุ้มครองเด็ก โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม Developing a of the system assist student of child protection school, by Participatory action research. นายกฤษฎา ศรีสุชาติ การศึกษาระดับปริญญาเอก (Ed.D)
E N D
การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนคุ้มครองเด็ก โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมDeveloping a of the system assist student of child protection school, by Participatory action research. นายกฤษฎา ศรีสุชาติ การศึกษาระดับปริญญาเอก (Ed.D) การบริหารจัดการการศึกษา รุ่น 6 มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 1 ภูมิหลัง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 2 พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวข้อง 3
กระทรวงศึกษาธิการ 4 ภูมิหลัง 5 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนคุ้มครองเด็ก 6
นโยบายสู่การปฏิบัติ สภาวะวิกฤติ • ภัยสารเสพติด • ความล้มเหลว ทางการเรียน / อาชีพ • ภัยทางเพศ • ความรุนแรง / การกลั่นแกล้ง / รังแก • อุบัติภัย • ฯลฯ นโยบาย สพฐ. สถานศึกษาทุกแห่งจัดให้มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและกำหนดมาตรการสนับสนุน ส่งเสริม ศักยภาพ นักเรียน เน้นกิจกรรมส่งเสริม พัฒนา ป้องกันแก้ ไขปัญหา และ การคุ้มครองสิทธิเด็ก โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาตรการสู่การปฏิบัติ 1.สร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียนมีมาตรฐานในการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.จัดกิจกรรม ส่งเสริมความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ ทางสังคม สิทธิเด็ก ตลอดจน ป้องกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียน เช่น ปัญหาสารเสพติด ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาทางเพศ โดยประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กร ในท้องถิ่น 3.สร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมโยงความรู้ สารสนเทศ และความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 4.ประสานการจัดทำระบบข้อมูล สารสนเทศ เพื่อการพัฒนา ส่งเสริม แก้ไข และส่งต่อนักเรียนใน ทุกระดับและทุกประเภท
สภาพปัญหา การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ สาธารณสุข โรงเรียน โรงเรียน รพศ. รพท. รพ.จิตเวช รพช. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่เข้มแข็ง • ศูนย์พึ่งได้(OSCC) • - ขาดคลินิกวัยรุ่น • คลินิกตามโรค ขาดการ • บูรณาการด้าน กาย จิต สังคม ของวัยรุ่น -งานบริการสุขภาพ จิตเด็กและวัยรุ่นยังไม่บูรณาการ Friend Corner 1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล 2.คัดกรอง 3.ส่งเสริมพัฒนา YC 4.ป้องกันแก้ไข 5.ส่งต่อ
จุดประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนคุ้มครองเด็ก โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
กรอบความคิดการวิจัย • การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามกรอบของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยนำระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) แบ่งออกเป็นระบบย่อยๆ 4 ระบบ คือ ระบบวางแผน (Plan) ระบบปฏิบัติการ (Act) ระบบตรวจสอบ (Observe) และระบบสะท้อนผล (Reflect) ไปประยุกต์ใช้ในแต่ละขั้นตอนของการวิจัย ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 รอบ คือ R1D1, R2D2 และ R3D3 โดยมี 6 ขั้นตอน
กรอบความคิดการวิจัย (ต่อ) • 1. การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (R1) • 2. การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (D1) • 3. การทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนรอบที่ 1 (R2) • 4. การประเมินและปรับปรุงระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนรอบที่ 1 (D2) • 5. การทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนรอบที่ 2 (R3) • 6. การประเมินและปรับปรุงระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนรอบที่ 2 (D3)
บริบทโรงเรียนอนุบาลศรีธาตุบริบทโรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ โรงเรียนคุ้มครองเด็ก ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาระบบ การประเมินเชิงระบบ การประเมินเชิงปฏิบัติการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
กระบวนการดำเนินการ ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต - คณะผู้บริหาร - ครูประจำชั้น/ - ครูที่ปรึกษา - ครู และบุคลากร - ที่เกี่ยวข้อง - ผู้ปกครอง - ชุมชน - งบประมาณ - ฯลฯ - การรู้จักนักเรียน เป็นรายบุคคล - การคัดกรอง นักเรียน - การส่งเสริม / พัฒนา - การป้องกัน / แก้ไข - การส่งต่อนักเรียน - ปริมาณนักเรียน ในกลุ่มเสี่ยงและ กลุ่มมีปัญหา ลด น้อยลง - นักเรียนมีพฤติ- กรรมเป็นไปตาม จุดประสงค์ที่ สถานศึกษากำหนด - นักเรียนมีคุณภาพ คุณลักษณะตามที่ สถานศึกษากำหนด ข้อมูลย้อนกลับ
แนวการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแนวการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กำหนดทิศทาง / กลยุทธ์ -วิเคราะห์สภาพปัญหา - ศักยภาพของโรงเรียน - บริบทชุมชน กำหนดมาตรฐาน นโยบาย สพฐ. P การวางระบบและแบบแผนการดำเนินงาน ดำเนินงานตามระบบ การรู้จักนักเรียน การคัดกรอง การส่งเสริม การช่วยเหลือ / แก้ไข การส่งต่อ การประเมินและรายงาน D การนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล C ปรับปรุง/พัฒนา/สรุป/รายงาน/ประชาสัมพันธ์ A
ขอบข่ายโรงเรียนคุ้มครองเด็กขอบข่ายโรงเรียนคุ้มครองเด็ก 1.การดูแล และคุ้มครองเด็ก การกdการการ โรงเรียนคุ้มครองเด็ก 2.การป้องกัน และเฝ้าระวัง 3.การส่งเสริมและพัฒนา
ขอบเขตงานวิจัย • กลุ่มตัวอย่างสำหรับกรณีศึกษา ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุ้มครองเด็ก ปีการศึกษา 2554 เปิดสอนนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีห้องเรียนจำนวน 28 ห้องเรียน จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา 54 คน จำนวนนักเรียน 750 คน
ขอบเขตของการวิจัย ผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนโรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ บุคคลในชุมชนผู้ปกครอง เครือข่ายผู้ปกครอง 1. กลุ่ม เป้าหมาย คณะครูโรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศัพท์สำคัญ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ศัพท์สำคัญ โรงเรียนคุ้มครองเด็ก
การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 6 ขั้นตอน 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. วางแผนเก็บข้อมูลและเตรียมการประสานพื้นที่ (P) 3. ศึกษาความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (A) 4. สรุปสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการในการพัฒนา ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (A) 5. ตรวจสอบข้อมูลที่ได้ (O) 6. สะท้อนผลให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ (R)
โรงเรียน ที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาระบบการดูแลช่วยเหลือ ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ผู้วิจัยคัดเลือกโรงเรียนดังกล่าวเป็น คณะครูโรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ นักเรียนโรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ที่เกี่ยวข้อง บุคคลในชุมชน เครือข่ายผู้ปกครอง องค์กร ส่วนราชการในชุมชน
วิธีดำเนินการวิจัย 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล บันทึกภาคสนาม บันทึกการประชุม 1 แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม 2 คู่มือการสนทนากลุ่ม 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • 1.ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเห็นความสำคัญ และมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2. ความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จากผู้ที่สนใจ สมัครใจ ยินดีให้ความร่วมมือและเป็นตัวแทนกลุ่มได้เป็นอย่างดี
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(ต่อ)ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(ต่อ) 3.ผู้บริหารควรเห็นความสำคัญและเป็นผู้นำในการนำระบบไปใช้เพื่อที่จะขับเคลื่อนให้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิผล 4.มีคู่มือการดำเนินการระบบให้ผู้เกี่ยวข้อง และกำหนดบทบาทของผู้เกี่ยวข้องในการใช้ระบบให้ชัดเจน