390 likes | 746 Views
Counseling for Termination of Unwanted Pregnancy การให้คำปรึกษาในการยุติการ ตั้งครรภ์ไม่ปรารถนา. นพ.เรือง กิตติ์ ศิริกาญ จน กูล นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านสาธารณสุข) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่น วันที่ 19 มีนาคม 2555. คำขวัญ. บำบัดทุกข์ บำรุงสุข
E N D
Counseling for Termination ofUnwanted Pregnancyการให้คำปรึกษาในการยุติการตั้งครรภ์ไม่ปรารถนา นพ.เรืองกิตติ์ศิริกาญจนกูล นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านสาธารณสุข) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่น วันที่ 19 มีนาคม 2555
คำขวัญ • บำบัดทุกข์ บำรุงสุข • เพื่อสุขภาพและความปลอดภัยของสตรี
ทัศนคติของสังคม • หญิงที่มาทำแท้งเป็นวัยรุ่นใจแตก หญิงส่ำส่อนทางเพศ • ข้อเท็จจริง • หญิงตกเป็นเหยื่อถูกกระทำ หรือเป็นความผิดพลาดในการคุมกำเนิด • บทบาทของเพศชาย “ผู้ล่า” “พี่ทำท้อง น้องทำแท้ง”
ข้อเท็จจริงที่สังคมยังไม่รู้ข้อเท็จจริงที่สังคมยังไม่รู้ สมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงประทานสัมภาษณ์ว่า “ในทางพระแล้ว การทำแท้งถือว่าเป็นบาป แต่การให้โอกาสทำแท้งเป็นการช่วยเหลือ หญิงที่เคราะห์ร้ายได้ เพราะการทำแท้งที่ทำอย่างลับๆ เป็นอันตรายทั้งแม่และลูก ดังนั้นผู้ที่ผิดพลาดไป ชีวิตควรเริ่มต้นใหม่ได้ (ตะวันสยาม : 30 สิงหาคม 2523)
ประเทศไทยต้องพัฒนา • ยอมรับว่ามีปัญหา ต้องแก้ไข • ยอมรับว่าต้องมีการทำแท้ง • การทำแท้งถูกกฎหมาย • มีการบริการที่ปลอดภัย และแพร่หลาย • มีบุคลากรที่ยินดีบริการ • สังคมยอมรับ
แบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อมแบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อม สุขภาพของผู้หญิงที่มาปรึกษา
แบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อมแบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อม ครอบครัว ของผู้หญิง
แบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อมแบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อม สุขภาพทางสังคมของผู้หญิง
แบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อมแบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อม สภาพทางสังคมของผู้หญิง
แบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อมแบบคัดกรองผู้หญิงสงสัยว่าท้องไม่พร้อม ความล้มเหลวของการคุมกำเนิด
ถ้าพบว่ามีข้อใดข้อหนึ่ง อาจเข้าข่ายการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ให้ซักถามว่า “การตั้งครรภ์นี้เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมหรือไม่ ? • ไม่ใช่ ให้บริการตามปกติ • ใช่ ให้ส่งปรึกษาทางเลือก, ยุติการตั้งครรภ์
การให้คำปรึกษา (Counseling) • การให้ความรู้ ข้อมูล ทางเลือก ข้อดี ข้อเสีย คำแนะนำ เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
ผลการให้คำปรึกษาที่ดี (Good Counseling) • ผู้รับบริการสามารถตัดสิใจเลือกการบริการที่เหมาะสมกับตนเองได้ และมีความพึงพอใจกับการตัดสินใจนั้น
ปัจจัยที่มีผลต่อ good counseling • ผู้รับบริการ • เปิดเผยข้อมูลว่าเกิดอะไรขึ้นอย่างไร อย่างครบถ้วน • ผู้ให้บริการ • ปราศจากอคติ, พร้อมรับฟังปัญหา, เป็นมิตร • กระบวนการปรึกษา และสภาพสิ่งแวดล้อม
ก่อนการให้คำปรึกษา (Prerequisite) • ผู้รับบริการมาขอรับบริการ • มีข้อบ่งชี้ในการให้บริการ • มีรูปแบบการให้บริการให้เลือก • มีการให้บริการที่เลือก
แบบประเมินสาเหตุของการยุติการตั้งครรภ์อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อมแบบประเมินสาเหตุของการยุติการตั้งครรภ์อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
แบบประเมินสาเหตุของการยุติการตั้งครรภ์อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อมแบบประเมินสาเหตุของการยุติการตั้งครรภ์อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
แบบประเมินสาเหตุของการยุติการตั้งครรภ์อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อมแบบประเมินสาเหตุของการยุติการตั้งครรภ์อันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
ข้อบ่งชี้ในการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปรารถนาข้อบ่งชี้ในการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปรารถนา • ระดับความชัดเจนมีหลายระดับ มาก ปานกลาง น้อย • ชัดเจนมาก เช่น • การตั้งครรภ์ในสตรีที่เป็นมะเร็งเต้านม • การตั้งครรภ์จากการข่มขืน • การตั้งครรภ์ในสตรีที่โรค SLE อย่างรุนแรง • การตั้งครรภ์ที่ทารกพิการ Trisomy13, Anencephaly
ข้อบ่งชี้ในการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปรารถนาข้อบ่งชี้ในการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปรารถนา • ข้อบ่งชี้ระดับปานกลาง เช่น • การตั้งครรภ์ในสตรีที่เป็น HIV • การตั้งครรภ์ที่ทารกเป็นโรค ธาลัสซีเมีย • การตั้งครรภ์ที่ทารกเป็นอาการ Down • การตั้งครรภ์ภายหลังสตรีทำหมันแล้ว • การตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อหัดเยอรมัน
ข้อบ่งชี้ในการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปรารถนาข้อบ่งชี้ในการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปรารถนา • ข้อบ่งชี้ระดับรางๆ • การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีบุตรพอแล้ว • การตั้งครรภ์ในสตรีนักเรียนวัยรุ่น • การตั้งครรภ์จากความล้มเหลวในการคุมกำเนิด • การตั้งขณะสถานการณ์ไม่เหมาะสม
ขั้นตอนการให้คำปรึกษา(Steps in Counseling) • G reetingต้อนรับทักทาย • A skซักถาม หาข้อมูล • T ell บอกเล่าการบริการ • H elpช่วยเหลือให้ผู้รับบริการตัดสินใจ • E xplainอธิบายวิธีและรายละเอียดการให้บริการ • R eturnนัดติดตามประเมินผลการบริการ
Step 2 Ask ซักถามหาข้อมูล • ข้อมูลเชื่อถือได้พอควร • ไม่สามารถพิสูจน์ได้ทั้งหมด • จัดระดับข้อบ่งชี้เพื่อการให้คำปรึกษา
Conflict of Interest • สตรีตั้งครรภ์ • สามี • พ่อแม่ • อื่นๆ
การหาข้อมูลเพิ่มเติมที่มีประโยชน์การหาข้อมูลเพิ่มเติมที่มีประโยชน์ • ข้อมูลจากผู้รับบริการ จากญาติ จากผู้เลี้ยงดู ผู้รับผิดชอบ • การตรวจอัลตราซาวน์ • อายุครรภ์ • ครรภ์แฝด • ตำแหน่งรก
Step 3 Tell บอกเล่าการบริการ • ถ้าไม่มีบริการหรือทางเลือกการบริการไม่ต้องให้คำปรึกษา • ทางเลือก • ทำแท้งให้ เลือกเวลา วิธีการ แนะนำให้ไปทำแท้งที่ปลอดภัย ให้ตั้งครรภ์ต่อ รับฝากครรภ์ให้ ดูแลการคลอดให้ คลอดแล้วเลี้ยงเองหรือญาติเลี้ยง คลอดแล้วยกให้ผู้อื่น
Step 4 Help ช่วยเหลือการตัดสินใจ • เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้รับบริการ • ผู้รับบริการหลายระดับ ต้องเลือกตัดสินใจ • พูดคุยกับผู้รับบริการ /ญาติ เพื่อให้แน่ใจและยืนยันถึงการตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์
Step 5 Explain อธิบายวิธีและรายละเอียดการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ปลอดภัย • การดูดเนื้อรก และเด็กจากโพรงมดลูก Manual vacuum Aspiration :MVA • การใช้ยายุติการตั้งครรภ์ Misoprostol • ยุติการตั้งครรภ์
Step 6 Return นัดติดตามประเมินผล • เป็นขั้นตอนที่สำคัญ : การปรึกษาหลังยุติการตั้งครรภ์ (Post abortion counseling) • นัดในระยะ 1 -2 สัปดาห์ • การป้องกันเหตุการณ์ครั้งต่อไป
การปรึกษาหลังยุติการตั้งครรภ์การปรึกษาหลังยุติการตั้งครรภ์ 1. ประเมินความรู้สึก ตอบคำถามที่สงสัยและให้กำลังใจ 2. ย้ำเตือนถึงอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นและโอกาสเกิดรวมทั้งอาการเบื้องต้น ที่ต้องกลับมาพบแพทย์ 3. ให้ความรู้ในด้านการดูแลตัวเองที่บ้านและชี้ให้ผู้รับบริการเห็นความสำคัญ ของการนัดหมายเพื่อตรวจซ้ำ 4. ให้ข้อมูลเรื่องทางเลือกในการคุมกำเนิดที่เหมาะสม (คุมกำเนิดทันทีหลังแท้ง) 5. ให้ข้อมูลเรื่องโอกาสเสี่ยงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกัน 6. ประเมินความต้องการของผู้รับบริการ หรือพิจารณาส่งต่อเพื่อรับบริการ ด้านอื่นๆ
ความรู้สึกที่มักพบในผู้ป่วยความรู้สึกที่มักพบในผู้ป่วย 1. กลัวคนรอบข้างรู้ และถูกประณาม 2. รู้สึกบาปที่ทำลายตัวอ่อนในท้อง 3. กลัวถูกจับเนื่องจากทำผิดกฎหมาย 4. กลัวคนในครอบครัว/สามีจะรับไม่ได้ 5. เกรงใบรับรองแพทย์เขียนว่า “ทำแท้ง” 6. เกรงว่าจะเบิกค่ารักษาจากประกันสุขภาพไม่ได้ และไม่มีเงินจ่าย
คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังยุติการตั้งครรภ์คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังยุติการตั้งครรภ์ 1. อาการข้างเคียงและอาการที่ต้องกลับมาพบแพทย์ อาการที่เกิดขึ้นได้เป็นปกติ : - เลือดออกทางช่องคลอด 1 สัปดาห์ - รู้สึกหน้าท้องตึงคล้ายมีประจำเดือน - อ่อนเพลีย ปานกลางระยะเวลาหนึ่ง - รู้สึกหดหู่ เศร้าใจ หลายวัน
คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังยุติการตั้งครรภ์(ต่อ)คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังยุติการตั้งครรภ์(ต่อ) อาการผิดปกติที่ควรกลับมาพบแพทย์ 1. ไข้สูง 2. ปวดท้องน้อยอย่างรุนแรง 3. หน้าท้องตึงแข็ง กดเจ็บ 4. คลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะมาก 5. มีเลือดออกทางช่องคลอด มากกว่าปกติเท่าตัวและนานเกิน 1 สัปดาห์ 6. เลือดออกมีสีผิดปกติหรือมีกลิ่นเหม็น 7. ยังคงมีอาการเหมือนตั้งครรภ์อยู่
คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังยุติการตั้งครรภ์(ต่อ)คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังยุติการตั้งครรภ์(ต่อ) 2. การดูแลตัวเองที่บ้าน - หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องออกแรงมากๆ - เริ่มทำกิจวัตรประจำวันตามปกติ เมื่อรู้สึกสบายแล้ว - แนะนำยาที่รับ ย้ำกินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน - ให้คุมกำเนิดทันที เพราะมีโอกาสท้องได้ ถ้าสามี มีเพศสัมพันธ์อีก
การปฏิเสธให้บริการยุติการตั้งครรภ์การปฏิเสธให้บริการยุติการตั้งครรภ์ • อายุครรภ์มากเกินไป ขีดกำหนด 22 -24 สัปดาห์ • ฤกษ์ยาม • เพศของทารก • เศรษฐานะ ความเป็นอยู่พร้อม • ความเห็นตรงข้ามของคู่สมรส
ทางเลือก (Options) • ทำแท้งให้ • ทำเอง • ส่งต่อให้แพทย์อื่นทำ • ตั้งครรภ์ต่อ • ฝากครรภ์และทำคลอดให้เอง • ส่งต่อให้ฝากครรภ์และคลอดในที่เหมาะสม • การเลี้ยงดูบุตร • เลี้ยงดูเอง พ่อแม่ญาติช่วย • ยกบุตรให้ผู้อื่นเลี้ยง
ข้อถกเถียงทางจริยธรรมข้อถกเถียงทางจริยธรรม • สิทธิมนุษยธรรม self autonomy มารดา ทารก • สิทธิของแพทย์
สรุป • การให้คำปรึกษาก่อนการยุติการตั้งครรภ์ มีความสำคัญ ที่จะช่วยเหลือผู้รับบริการ ในการตัดสินใจรับบริการที่เหมาะสม อย่างพึงพอใจ และลดภาวะแทรกซ้อนได้ด้วย • ต้องมีทางเลือกให้ผู้รับบริการเลือกได้ • ปัญหาของทัศนคติของผู้ให้บริการยังมีอยู่ ไม่ควรใช้การให้คำปรึกษาเพื่อโน้มน้าวให้ผู้รับบริการยอมรับความคิดของตน