1 / 43

ระบบฐานข้อมูล 3(2-2 -5 )

แบบจำลอง E-R Entity-Relationship Model. ระบบฐานข้อมูล 3(2-2 -5 ). Attribute. โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์. Employee. Cardinality. Relation. Degree. Primary Key. Foreign Key. Payroll. คีย์หลัก ?. คีย์หลัก ?. แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตารางพนักงานและตารางแผนก. Employee.

Download Presentation

ระบบฐานข้อมูล 3(2-2 -5 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แบบจำลอง E-REntity-Relationship Model ระบบฐานข้อมูล 3(2-2-5)

  2. Attribute โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Employee Cardinality Relation Degree Primary Key Foreign Key Payroll

  3. คีย์หลัก ?

  4. คีย์หลัก ?

  5. แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตารางพนักงานและตารางแผนกแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตารางพนักงานและตารางแผนก Employee Foreign Key Department

  6. แบบจำลองข้อมูล(E-R Model) มีไว้ทำไม • เพื่อนำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย • แบบจำลองข้อมูลที่ได้รับการยอมรับ จะถูกนำมาสร้างเป็นระบบฐานข้อมูลยี่ห้อต่างๆ ให้เราเลือกใช้งาน

  7. ส่วนประกอบของ ER-Model • E-R Modelหรือแบบจำลองข้อมูล คือ การสร้างแบบจำลองฐานข้อมูลในระดับความคิด (Conceptual Level) โดย E-R Model มีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วนดังนี้ • 1. เอ็นติตี้ (entity) • 2. แอททริบิวท์ (attributes) ของแต่ละเอ็นติตี้ • 3. ความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นติตี้ (relationship)

  8. เอนทิตี(Entity) • Entityหมายถึง สิ่งของหรือวัตถุที่สามารถบอกความแตกต่างจากเอนทิตีอื่นๆ ได้ • Entity อาจจะเป็น บุคคล , สถานที่ , เหตุการณ์ หรือสิ่งของที่เราเลือก เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล • สัญลักษณ์ จะใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และมีชื่อกำกับภายในเป็น คำนาม ชั้นเรียน นักศึกษา อาจารย์

  9. แอททริบิวต์ (Attribute) • Attribute เป็นสิ่งที่ใช้อธิบายถึงคุณลักษณะของ Entity หนึ่ง ๆ เช่น Entity ของนักศึกษา จะประกอบด้วย Attribute ชื่อ-สกุล , เพศ , ที่อยู่ , เบอร์โทร , คณะ , สาขา ,วิชา , วันที่เข้าเรียน เป็นต้น • สมาชิกที่อยู่ใน Entity หนึ่ง ๆ จะต้องมี Attributeที่เหมือนกัน • จะใช้สัญลักษณ์ วงรีแทน Attributeหนึ่ง Attribute และมีชื่อกำกับภายในที่เป็นคำนาม และแอททริบิวท์ใดเป็นคีย์หลักก็จะมีการขีดเส้นใต้แอททริบิวท์นั้น ๆ

  10. Gender Address Tel Name Major Stu_Id Student แอททริบิวต์ (Attribute)

  11. ชนิดของ Attribute • แอทริบิวต์อย่างง่าย(Simple Attribute)หมายถึง แอทริบิวต์ที่ไม่สามารถแบ่งย่อยได้อีก เช่น อายุ เพศ สถานภาพการสมรส • คอมโพสิตแอทริบิวต์ (Composite Attribute)หมายถึง แอทริบิวต์ที่สามารถแบ่งย่อยได้อีก เช่น Attribute ที่อยู่ สามารถแบ่งเป็นแอทริบิวต์ย่อยๆ ได้ เป็น เลขที่ ถนน อำเภอ จังหวัด

  12. Gender Major Tel Name Adress Stu_Id Student ตัวอย่างคอมโพสิตแอทริบิวต์ เลขที่ ถนน อำเภอ จังหวัด คอมโพสิตแอทริบิวต์ รหัสไปรษณีย์

  13. ชนิดของ Attribute • แอทริบิวต์ที่มีหลายค่า (Multivalued Attribute)หมายถึง แอทริบิวต์ที่สามารถมีได้หลายค่า เช่นคนหนึ่งคนสามารถมีวุฒิการศึกษาได้หลายระดับ เช่น ปริญญาตรี,โท,เอก เป็นต้น หรือ นักศึกษาหนึ่งคนอาจมีเบอร์โทรศัพท์ได้หลายเบอร์ โดยจะใช้วงรีสองวงซ้อนกันแทนแอทริบิวต์ที่มีหลายค่า ชื่อ ที่อยู่ รหัส การศึกษา แอทริบิวต์ที่มีหลายค่า พนักงาน

  14. แอทริบิวต์ที่มีหลายค่าแอทริบิวต์ที่มีหลายค่า ชื่อ ที่อยู่ รหัส การศึกษา 1 การศึกษา 2 พนักงาน ตัวอย่างข้อมูลที่เกิดจากการแปลงแอทริบวต์ที่มีหลายค่าไปเป็นแอทริบิวต์ใหม่ได้หลายตัวเพือนำไปสร้างข้อมูลในตาราง การศึกษา 3

  15. ชนิดของ Attribute • 4. ดีไรฟ์แอทริบิวต์ (Derived attribute)คือ แอทริบิวต์ที่ได้มาจากการคำนวณจากแอทริบิวต์อื่น โดยทั่วไปไม่ต้องจัดเก็บแอทริบิวต์นี้ เช่น แอทริบิวต์อายุ เนื่องจากสามารถคำนวณได้จากวันเดือนปีเกิด หรือ ยอดรวมของใบเสร็จแต่ละใบ คำนวณได้จากรายการสินค้าในใบเสร็จ เป็นต้น • ในแผนภาพ ER จะใช้เส้นประแทน derived attribute เพศ คณะ วันเดือนปีเกิด ชื่อ อายุ รหัส นักศึกษา

  16. Gender SalePrice Address Qty Tel SaleDate Name Prod_ID DOB Cust_ID Code BillNo Student Selling Simple Key Composite Key

  17. การสร้างตารางจากแบบจำลองอีอาร์การสร้างตารางจากแบบจำลองอีอาร์ • แบบจำลองอีอาร์สามารถเขียนได้โดยใช้โครงสร้างแบบตารางได้ดังนี้ ชื่อตาราง(แอทริบิวต์คีย์หลัก,แอทริบิวต์ที่ 2,แอทริบิวต์ที่ 3,…….ที่ n) ตัวอย่าง เพศ คณะ วันเดือนปีเกิด ชื่อ รหัส นักศึกษา เขียนแบบโครงสร้างตารางได้ดังนี้นักศึกษา(รหัส,ชื่อ,คณะ,เพศ,วันเดือนปีเกิด)

  18. ความสัมพันธ์ (relationship) ความสัมพันธ์ (relationship)หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นติตี้ ซึ่งเป็นไปตามชนิดของความสัมพันธ์ โดยความสัมพันธ์จะนำเสนอด้วยเหตุการณ์ที่เชื่อมโยงในเอ็นทีตี โดยการตั้งชื่อความสัมพันธ์จะใช้คำกริยาที่แสดงการกระทำ เช่น มี,สอน,ว่าจ้าง เป็นต้น

  19. ความสัมพันธ์ (relationship) • ตัวอย่างRelationship ระหว่าง Entity นักศึกษา กับ Entity รายวิชา มีความสัมพันธ์ คือ นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้น ๆ • ตัวอย่าง นักศึกษาจะมีความสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่นิสิตสังกัดอยู่ • จะใช้สัญลักษณ์ สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดแทน และมีการตั้งชื่อความสัมพันธ์นั้นกำกับภายใน โดยชื่อที่กำกับต้องเป็นคำกิริยา วิชา นักศึกษา ลงทะเบียน คณะ นักศึกษา สังกัด

  20. ประเภทของความสัมพันธ์ (Relationships & Entity Set) • ระดับของ relationship จะแสดงด้วยจำนวนของ Entity ที่สัมพันธ์กัน คือ • Unaryrelationshipเป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เพียง Entity เดียว • Binaryrelationshipเป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 2 Entity • Ternaryrelationshipเป็นความสัมพันธ์ที่มี Entity เกี่ยวข้องด้วย 1 Entity

  21. A Unary Relationship ต้องเรียนมาก่อน วิชา

  22. ทำงาน สาขา ตำแหน่ง วิชา พนักงาน Student Binary Relationship ลงทะเบียน Ternary Relationship

  23. ประเภทของ Relationship • ประเภทของการเชื่อม Relationship มีดังนี้ • One-to-One (1:1) • One-to-Many (1:N) • Many-to-Many (M:N) • ในแผนภาพ ER จะแทนโดยการเขียนกำกับที่เส้นเชื่อมความสัมพันธ์ เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของเอนทีตี

  24. Relationship Connectivity 1 1 สมัคร รหัสผ่าน สมาชิก 1 N สอน วิชา อาจารย์ M N ลงทะเบียน วิชา นักศึกษา

  25. คาร์ดินัลลิตี (Cardinality) • คาร์ดินัลลิตี (Cardinality)หมายถึง จำนวนของเอนทิตีหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับอีกเอนทิตีหนึ่ง เช่น ถ้ามีการกำหนดว่าอาจารย์คนหนึ่งสอนได้ไม่เกิน 3 วิชา ต่อภาคการศึกษา หรือ นักศึกษาสามารถลงทะเบียนได้ไม่เกิน 6 วิชาต่อภาคการศึกษาเป็นต้น โดยสามารถเขียนได้เป็นแผนภาพดังนี้

  26. คาร์ดินัลลิตี (Cardinality) 1 N สอน วิชา อาจารย์ (0,3) (1,n) M N ลงทะเบียน วิชา นักศึกษา (0,30) (1,6) คาร์ดินัลลิตี (Cardinality)

  27. สอน ลงทะเบียน การแสดงเงื่อนไขต่างๆ โดยใช้คาร์ดินัลลิตี้ 1 M N วิชา อาจารย์ (0,30) (1,n) (0,3) (1,6) N นักศึกษา

  28. ประเภทของเอนทีตี (Entity) 1. เอนทิตีอ่อนแอ (Weak entity) หมายถึง เอนทีตีที่ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ โดยปราศจากเอนทีตีที่มีความสัมพันธ์อยู่ และจะมีคีย์หลักจากการสืบทอดเอนทีตีที่มันพึ่งพิงอยู่ มาใช้เป็นคีย์หลักหรือส่วนหนึ่งของคีย์หลัก โดยWeak Entity จะใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแต่เป็นเส้นคู่ ตัวอย่างเช่น

  29. มี การแสดงเอนทีตีอ่อนแอ (Weak entity) รหัสพนักงาน ชื่อ รหัสพนักงาน ลำดับที่ 1 M สมาชิกในครอบครัว พนักงาน (0,n) (1,1) ชื่อสมาชิก แผนก

  30. การแสดงเอนทีตีอ่อนแอ (Weak entity)

  31. บริหาร ประเภทของเอนทีตี (Entity) • 2. เอนทีตีเรียกซ้ำ (Recursive entity)เป็นเอนทีตีที่เกิดจากเอนทีตีเพียงเอนทีตีเดียว ที่เรียกว่าความสัมพันธ์แบบยูนารี ซึ่งอาจเป็นแบบ 1:1 , 1:M , M:N ก็ได้ เช่น ความสัมพันธ์ พนักงานที่เป็นผู้บริหาร ซึ่งหนึ่งคนอาจจะบริหารพนักงานได้หลายคน (ผู้บริหารก็เป็นพนักงานเช่นเดียวกัน) 1 M พนักงาน

  32. แต่งงาน เรียนมาก่อน เอนทีตีเรียกซ้ำ (Recursive entity) 1 1 M N พนักงาน วิชา

  33. เอนทีตีเรียกซ้ำ (Recursive entity)

  34. ประเภทของเอนทีตี (Entity) • 3. คอมโพสิตเอนทีตี (Composite entity)สร้างขึ้นเพื่อแปลงความสัมพันธ์แบบ M:N มาเป็นแบบ 1:N โดยการนำเอาคีย์หลักของทั้งสองเอนทีตีที่มีความสัมพันธ์แบบ M:N มารวมกับแอทริบิวต์อื่นๆที่สนใจ เช่น เอนทีตีการลงทะเบียนเป็นคอมโพสิตเอนทีตีที่ถูกสร้างระหว่างเอนทีตีนักศึกษา และวิชา โดยคอมโพสิตเอนทีตีจะแสดงด้วยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีรูปสีเหลี่ยมขนมเปียกปูนอยู่ภายในด้วย ดังแสดงในตัวอย่าง

  35. ตัวอย่างคอมโพสิตเอนทีตี (Composite entity) รหัสนักศึกษา รหัสวิชา 1 1 M N วิชา นักศึกษา การลงทะเบียน รหัสนักศึกษา รหัสวิชา เกรด

  36. แต่งงาน การลงทะเบียน สรุปองค์ประกอบของแผนภาพ E-R นักศึกษา เอนทีตี ชื่อ แอทริบิวต์ รหัสนักศึกษา คอมโพสิตเอนทีตี คีย์หลัก แอทริบิวต์หลายค่า ชื่อ นักศึกษา สมาชิก เอนทีตีอ่อนแอ ดีไรฟด์แอทริบิวต์ อายุ รีเลชันชิพ

  37. สรุปองค์ประกอบของแผนภาพ E-R คอนเนคทีวิตี M N ลงทะเบียน วิชา นักศึกษา (0,30) (1,6) คาร์ดินัลลิตี (Cardinality)

  38. สรุปองค์ประกอบของแผนภาพ E-RDiagram Attribute Multivalued attribute Key attribute Relationship lastName title genre FirstName balance Videotape_ID accountID otherUsers 1 M Rents Customer Videotape numberRentals address Cardinality street zipcode Derivedattribute city Composite attribute

  39. การออกแบบฐานข้อมูลในระดับความคิดการออกแบบฐานข้อมูลในระดับความคิด • กำหนดว่ามี Entity อะไรบ้าง • กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Entity • กำหนด Attribute ของ Entity ให้ครบ • พิจารณา Attribute ที่ขึ้นกับ Relationship • เลือก Identifier หรือ Primary Key

  40. จงวาดรูป ER Diagram ของระบบการฉายภาพยนตร์พร้อมทั้งระบุความสัมพันธ์ให้ถูกต้อง โดยข้อมูล ประกอบด้วย - แฟ้มภาพยนตร์ ข้อมูลที่เก็บ รหัสภาพยนตร์,ชื่อภาพยนตร์,วันเปิดตัว,ผู้กำกับ - แฟ้มผู้แสดง ข้อมูลที่เก็บ รหัสนักแสดง,ชื่อนักแสดง,ประวัติการแสดง - แฟ้มโรงภาพยนตร์ ข้อมูลที่เก็บ รหัสโรงภาพยนตร์,ชื่อโรงภาพยนตร์,ที่อยู่,เบอร์โทรศัพท์

  41. จงวาดรูป ER Diagram ของระบบร้านเช่าวีดีโอแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย • แฟ้มสมาชิก(member)ข้อมูลที่เก็บ รหัสลูกค้า , ชื่อ , ที่อยู่,เบอร์โทร • แฟ้มชื่อเรื่อง(title)ข้อมูลที่เก็บ รหัสเรื่อง, ชื่อเรื่อง , ผู้กำกับ , นักแสดง • แฟ้มประเภท(category)ข้อมูลที่เก็บ รหัสประเภท,รายละเอียด พร้อมทั้งกำหนดความสัมพันธ์และคาดินัลลิตีให้ถูกต้อง

  42. แบบฝึกหัด • 1. องค์ประกอบที่สำคัญของแบบจำลองอี-อาร์ มีอะไรบ้าง • 2. จงอธิบายความหมายและสัญลักษณ์ของคำต่อไปนี้ 2.1 เอนทีตี 2.5 แอทริบิวต์ที่มีหลายค่า 2.2 รีเลชันชิพ 2.6 ดีไรฟด์แอทริบิวต์ 2.3 แอตทริบิวต์ 2.4 คอมโพสิตแอทริบิวต์ 3. คอมโพสิตเอนทิตี้มีความสำคัญอย่างไรในการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 4. เอนทิตีอ่อนแอคืออะไร มีคุณสมบัติอย่างไร

  43. 5. จากตารางข้อมูล ที่กำหนดให้ แบบฝึกหัด 5.1 จงเขียน E-R Diagram แสดงความสัมพันธ์ของตาราง 5.2 จงบอกว่าแต่ละตารางมี Field ใดเป็น Primary Key 5.3 สำหรับตารางที่มี Foreign Key จงบอกว่าเป็น Field ใด และมีความสัมพันธ์กับ Field ใดในตารางใด

More Related