360 likes | 685 Views
ทิศทาง การพัฒนา. ทรัพยากรน้ำ. ของ ประเทศไทย. มนัส กำเนิดมณี. ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 18 พฤษภาคม 25 52. ทิศทาง การบริหารจัดการน้ำ ในอนาคต. โครงการ ก่อสร้าง. รัฐธรรมนูญ. การมีส่วนร่วมบริหารทรัพยากร. สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน.
E N D
ทิศทางการพัฒนา ทรัพยากรน้ำ ของประเทศไทย มนัส กำเนิดมณี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 18 พฤษภาคม 2552
ทิศทางการบริหารจัดการน้ำในอนาคตทิศทางการบริหารจัดการน้ำในอนาคต โครงการ ก่อสร้าง รัฐธรรมนูญ การมีส่วนร่วมบริหารทรัพยากร สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน น้ำ แผน 10 ต้องการมากขึ้น พรด MTEF การพัฒนา แหล่งน้ำ ปัจจัย ที่กระทบ เทคโนโลยี การเกษตร นโยบาย รัฐบาล การมี ส่วนร่วม ความท้าทาย กรมฯ การบริหารจัดการน้ำในอนาคต นโยบาย กระทรวงฯ สถานการณ์ กรมฯ ปัจจุบัน พัฒนา ฝสบ เพิ่มประสิทธิภาพ การชลประทาน การบำรุง รักษา พัฒนา เทคโนโลยี สารสนเทศ ปรับ โครงสร้าง การบริหาร จัดการน้ำ พัฒนา การบริหาร จัดการ การปรับปรุง ระบบ ชลประทาน เงินทุนหมุนเวียน เพื่อการชลประทน การบริหาร จัดการองค์กร บุคลากร ป้องกันและ บรรเทาภัย อันเกิดจากน้ำ รักษาพื้นที่ ทำการเกษตร ในเขตชลประทาน งบประมาณ บริหาร ยุทธศาสตร์ การมีส่วนร่วม ของประชาชน มนัส กำเนิดมณี ผส.สช.
สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนสำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (Office of Public Participatory Promotion) http://ppp.rid.go.th E-mail : oppp_rid@yahoo.com สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การลดอัตรากำลังคนภาครัฐการลดอัตรากำลังคนภาครัฐ 36,708 รวมอัตรากำลัง ลูกจ้างประจำ 23,232 7,014 8,487 4,170 พนักงานข้าราชการ *ขาดแคลนบุคลากรในระดับปฏิบัติงาน
ข้อจำกัดด้านงบประมาณ อัตราการเพิ่มงบประมาณ
อัตราการเพิ่มพื้นที่ชลประทานอัตราการเพิ่มพื้นที่ชลประทาน
General Information on China รวม รวม เกษตร อุปโภค บริโภค อุตสาหกรรม
สมดุลน้ำ อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต 2553 เขื่อนแก่งเสือเต้น 1,125 mcm 2556 โครงการห้วยหลวง 864 mcm 2560 โครงการผันน้ำ 6,263 mcm 2554 โครงการห้วยโสมง แก้ไขปัญหาโดย ลดพื้นที่เกษตรกรรม ใช้แหล่งน้ำธรรมชาติและน้ำบาดาล 2 ความต้องการน้ำรวม 3 53,590 47,327 46,202 1 ขยายพื้นที่ชลประทานเป็น 60 ล้านไร่ พื้นที่ชลประทานเท่าปัจจุบัน เพิ่มเฉพาะความต้องการน้ำอุปโภคบริโภค ท่องเที่ยว และอุตสาหกรรม กรณีที่ 2 + เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ 10% 2 3
ศักยภาพน้ำของประเทศไทยในปัจจุบันศักยภาพน้ำของประเทศไทยในปัจจุบัน ระเหยและไหลซึมลงดิน 506,000 ล้าน ลบ.ม./ปี ฝนเฉลี่ย 1,424 มม. ปริมาณฝน 719,500 ล้าน ลบ.ม./ปี ไหลลง คลอง ห้วย ลำธาร 213,500 ล้าน ลบ.ม./ปี ระบบเก็บกักน้ำผิวดิน 75,120 ล้าน ลบ.ม. *ปริมาณน้ำที่ควบคุมได้อย่างมั่นคง เฉลี่ย 52,741 ล้าน ลบ.ม./ปี พื้นที่ชลประทาน 28.14 ล้านไร่ *ปี 2550 ปริมาณน้ำท่าต่อประชากร เฉลี่ย 3,400 ลบ.ม./คน/ปี เหลือน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติและไหลลงทะเล 160,759 ล้าน ลบ.ม./ปี 11
สถานการณ์น้ำในสภาพปัจจุบันสถานการณ์น้ำในสภาพปัจจุบัน ความต้องการใช้น้ำ ปริมาณน้ำต้นทุน โครงการขนาดกลาง 3,951 ล้าน ลบ.ม. (5.03 %) โครงการขนาดเล็ก 1,683 ล้าน ลบ.ม. (2.14 %) อุปโภค-บริโภค 2,876 ล้าน ลบ.ม./ปี (4%) อุตสาหกรรม 2,798 ล้าน ลบ.ม./ปี (4%) น้ำบาดาล 3,500 ล้านลบ.ม. (4.45 %) โครงการขนาดใหญ่ 69,485 ล้าน ลบ.ม. (88.38 %) รักษาลำน้ำ 12,378 ล้าน ลบ.ม./ปี (16%) เกษตรกรรม 55,735 ล้าน ลบ.ม./ปี (75%) ปริมาณน้ำที่ควบคุมได้อย่างมั่นคง เฉลี่ย 52,741 ล้าน ลบ.ม./ปี ขาดแคลนน้ำ 21,047 ล้าน ลบ.ม./ปี ปริมาณน้ำที่ต้องการใช้ 73,788 ล้าน ลบ.ม./ปี
สถานการณ์ปัจจุบัน ณ 30 กันยายน 2551 • พื้นที่ชลประทาน ได้จัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานแล้ว ประมาณ 12.802 ล้านไร่ ประกอบด้วย • 17,028 กลุ่มพื้นฐาน • 897 กลุ่มบริหารการใช้น้ำฯ • 36 สมาคมผู้ใช้น้ำฯ • 46 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำ พื้นที่ชลประทาน 28.14 ล้านไร่ ทิศทางการบริหารจัดการน้ำ - เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากน้ำ - พัฒนาเชิงคุณภาพ - ส่งเสริมให้เกษตรกรมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 13
รัฐธรรมนูญ ปี 2550 มาตรา 67 การดำเนินการโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทำมิได้เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียก่อน มาตรา 85 ข้อ (4) รัฐต้องดำเนินการจัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและทรัพยากรธรรมชาติอื่นอย่างเป็นระบบและเกิดประโยชน์ต่อส่วนร่วม ทั้งต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวนบำรุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล
ตรวจสอบและประเมินผล (Monitor & Evaluation )
Human Resources What is the quality of our staff?
Q& A สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (Office of Public Participatory Promotion)
ทิศทางการบริหารจัดการน้ำในอนาคตทิศทางการบริหารจัดการน้ำในอนาคต สร้างความเชื่อมั่น แก้ปัญหา คนลดลง จ้างเหมา กลุ่ม ข้อตกลง การมีส่วนร่วมบริหารทรัพยากร กลุ่ม เข้มแข็ง วิจัยเพื่อท้องถิ่น รัฐธรรมนูญ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน • - ผู้ใช้น้ำ • อบต. • ชป. • หน่วยอื่น ต้องการมากขึ้น แผน 10 JMC น้ำ การมีส่วนร่วม อาสาสมัคร ชลประทาน ปัจจัย ที่กระทบ - เป้า 2554 - กลุ่ม+ก่อสร้าง เทคโนโลยี การเกษตร กลุ่ม ผู้ใช้น้ำ ที่ทำการ กลุ่ม กองทุน O&M กฎหมาย กลุ่มฯ Cost Sharing เศรษฐกิจ โลก การบริหารจัดการน้ำ • - Front Office • - ประกวด • คุณภาพ Super Irrigation • - Area • Function • ส่งน้ำ+ก่อสร้าง เพิ่มประสิทธิภาพ การชลประทาน Modernize Irrigation ฝ่าย ส่งน้ำ • - KPI • - RBM • คำรับรอง โครง สร้าง บริหาร ยุทธศาสตร์ มุมมอง ใหม่ รักษา พท.ชป. การบริหาร - วิเคราะห์อัตรากำลัง - ตรงตามสมรรถนะ บุคลากร การมีส่วนร่วม ต้นทุน การผลิต สมดุล นิเวศน์ - กำหนดโครงการ - ก่อนการก่อสร้าง - ระหว่างการก่อสร้าง - หลังการก่อสร้าง PMQA คุณภาพ การให้บริการ การผลิต การตลาด IT วิสาหกิจ ชุมชน มนัส กำเนิดมณี ผส.สช.