1 / 40

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพ. องค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพ. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ( SPECIES DIVERSITY) ความหลากหลายทางพันธุกรรม ( GENETIC DEVERSITY) ความหลากหลายของระบบนิเวศ ( ECOLOGICAL DIVERSITY). ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ( SPECIES DIVERSITY) ในรูปใดมีมากกว่ากัน.

Download Presentation

ความหลากหลายทางชีวภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ

  2. องค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพองค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพ • ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต (SPECIES DIVERSITY) • ความหลากหลายทางพันธุกรรม (GENETIC DEVERSITY) • ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ECOLOGICAL DIVERSITY)

  3. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต (SPECIES DIVERSITY) ในรูปใดมีมากกว่ากัน

  4. สิ่งมีชีวิตในโลกนี้ มีลักษณะแตกต่างกันหลากหลาย เท่าที่รู้จักแล้วในขณะนี้มีกว่าล้านห้าแสนชนิด และยังจะรู้จักเพิ่มขึ้นอีก การที่จะศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่มีมากมายถึงเช่นนี้ได้ ก็เพราะใช้วิธีการจัดจำแนกหมวดหมู่เข้ามาช่วยนั่นเอง นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการหลายแนวทางในการจำแนกหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต เช่น ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous key) อนุกรมวิธาน (Taxonomy) เป็นต้น

  5. ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous key) เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มย่อย โดยพิจารณาจากโครงสร้างทีละลักษณะที่แตกต่างกันเป็นคู่ ๆ สัตว์ที่จะจำแนก ได้แก่ จิงโจ้ วัว แมงมุม ผึ้ง มีโครงร่างแข็งภายใน ไม่มีโครงร่างแข็งภายใน มีกระเป๋าหน้าท้อง (จิงโจ้) ไม่มีกระเป๋าหน้าท้อง (วัว) มีหกขา (ผึ้ง) ไม่ได้มีหกขา (แมงมุม)

  6. ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous key) 1ก มีโครงร่างแข็งภายใน………………….…………ดูข้อ 2 1ข ไม่มีโครงร่างแข็งภายใน…………………………ดูข้อ 3 2ก มีกระเป๋าหน้าท้อง………………….…………….จิงโจ้ 2ข ไม่มีกระเป๋าหน้าท้อง…………………………….วัว 3ก มีหกขา……………………………………………ผึ้ง 3ข ไม่ได้มีหกขา…………………………………….แมงมุม

  7. ตัวอย่างจากสัตว์มีกระดูกสันหลัง ซึ่งประกอบด้วย ปลากระดูกอ่อน ปลากระดูกแข็ง สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ดังนี้ 1ก มีขน ..................................... ดูข้อ 2 1ข ไม่มีขน.................................... ดูข้อ 3 2ก ขนเป็นเส้น...................... สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 2ข ขนเป็นแผงแบบนก................... นก 3ก มีครีบคู่ ................................... ดูข้อ 4 3ข ไม่มีครีบคู่ .............................. ดูข้อ 5

  8. 4ก มีแผ่นปิดช่องเหงือก ............... ปลากระดูกแข็ง 4ข ไม่มีแผ่นปิดช่องเหงือก............. ปลากระดูกอ่อน 5ก ผิวหนังมีเกล็ด ........................ สัตว์เลื้อยคลาน 5ข ผิวหนังไม่มีเกล็ด ........... สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ

  9. จัดจำแนกสิ่งมีชีวิตต่อไปนี้ ตามวิธีไดโคโตมัสคีย์งูเห่า นกยูง ปลาดุก ผีเสื้อ สิงโต เหยี่ยว จิงโจ้

  10. การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ • นักชีววิทยาศึกษาโดยอาศัยหลักฐานทางซากดึกดำบรรพ์ ที่สามารถคำนวณอายุได้ และแสดงเป็นตารางธรณีกาล (The geologic time scale) • Era (มหายุค) • Period (ยุค) • Epoch (สมัย)

  11. การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ สายวิวัฒนาการ (phylogeny) ซากดึกดำบรรพ์ ชีวโมเลกุล กายวิภาคเปรียบเทียบ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ลักษณะทางนิเวศวิทยา พฤติกรรม ระบบการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต(systematics) อนุกรมวิธาน (taxonomy)

  12. เกณฑ์โดยทั่วไปที่ใช้ในการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตในปัจจุบัน ได้แก่ • เปรียบเทียบโครงสร้างที่เด่นชัดทั้งลักษณะภายนอกและลักษณะภายใน โครงสร้างที่มีต้นกำเนิดเดียวกัน (homologous structure) แม้จะทำหน้าที่ต่างกันก็ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ในขณะที่โครงสร้างซึ่งมีต้นกำเนิดต่างกัน (analogous structure) แม้จะทำหน้าที่เหมือนกันก็ควรจะอยู่คนละกลุ่มกัน

  13. ลักษณะที่ใช้จัดจำแนกสิ่งมีชีวิตลักษณะที่ใช้จัดจำแนกสิ่งมีชีวิต 2. แบบแผนของการเจริญเติบโต และโครงสร้างที่เกิดขึ้นในระยะที่เป็นตัวอ่อน โดยใช้หลักที่ว่า "สิ่งมีชีวิตใดที่มีลักษณะของตัวอ่อนคล้ายคลึงหรือมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก ย่อมมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายและวิวัฒนาการมากด้วย

  14. 3. ซากดึกดำบรรพ์ ซึ่งอาศัยหลักที่ว่าสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการ ดังนั้นสิ่งมีชีวิตใดที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันย่อมมีซากดึกดำบรรพ์ที่พบในชั้นหินต่าง ๆ คล้ายคลึงกันและอาจทำให้ทราบถึงบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ 4. โครงสร้างของเซลล์และออร์แกเนลเป็นการศึกษาในระดับเซลล์และส่วนประกอบของเซลล์ เช่นการแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นพวกที่ไม่เป็นเซลล์ เช่น ไวรัส และพวกที่เป็นเซลล์เช่นสิ่งมีชีวิตทั่วไป 5. สรีรวิทยาและการสังเคราะห์สารเคมี 6. ลักษณะทางพันธุกรรม

  15. อนุกรมวิธาน (taxonomy) อนุกรมวิธานเป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ • การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต (classification) ออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ • การกำหนดชื่อสากลของหมวดหมู่และชนิดของสิ่งมีชีวิต (nomenclature) • การตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific Name) ของสิ่งมีชีวิต (identification)

  16. ประวัติการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตประวัติการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต

  17. Devil Cat

  18. Ghost Cat

  19. Mountain Lion

  20. Screaming Cat

  21. Puma

  22. Florida Panther

  23. Cougar

  24. There are at least 50 common names for the animal shown on the previous 7 slides. • Common names vary according to region. • Soooo……why use a scientific name?

  25. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature) คาโรลัสลินเนียส(Corolus Linnaeus) นักชีววิทยาชาวสวีเดนเป็นผู้ริเริ่มในการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ให้กับสิ่งมีชีวิต เมื่อ พ.ศ. 2310 โดยเสนอให้ใช้ 2 ชื่อ (binomial nomenclature)

  26. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต ในการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิต มีเรียกกัน 2 ชนิด คือ • ชื่อสามัญ (Common name)เป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ซึ่งแตกต่างกันไปตามภาษาและท้องถิ่น • ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)เป็นชื่อเฉพาะเพื่อใช้เรียกสิ่งมีชีวิตเป็นแบบสากล ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก ไม่ว่าชาติใดภาษาใดรู้จักกันโดยใช้ภาษาลาติน สำหรับตั้งชื่อวิทยาศาสตร์

  27. หลักการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์หลักการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ • ใช้ชื่อภาษาละติน • ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของพืชและสัตว์จะเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อกัน • ชื่อวิทยาศาสตร์ของพืชและสัตว์แต่ละหมวดหมู่จะมีชื่อที่ถูกต้องที่สุดเพียงชื่อเดียว • ชื่อหมวดหมู่ในลำดับขั้น Family ลงไป ต้องมีตัวอย่างต้นแบบของสิ่งมีชีวิตนั้นประกอบการพิจารณา เช่น ชื่อ Family ในพืช จะลงท้ายด้วย aceaeแต่ในสัตว์ จะลงท้ายด้วย idae

  28. ชื่อในลำดับขั้น Genus จะใช้ตัวอักษรตัวใหญ่นำหน้า และตามด้วยอักษรตัวเล็ก • ชื่อในลำดับขั้น Species จะประกอบด้วย 2 คำ โดยคำแรกจะดึงเอาชื่อ Genus มา แล้วคำที่สองจึงเป็นชื่อระบุชนิด หรือเรียกว่า Specific epithet ซึ่งจะขึ้นต้นด้วยอักษรตัวเล็ก • ชื่อในลำดับขั้น Species จะเขียนตัวเอน หรือ ขีดเส้นใต้

  29. ชื่อวิทยาศาสตร์ในลำดับชนิดต้องประกอบด้วยชื่อวิทยาศาสตร์ในลำดับชนิดต้องประกอบด้วย • ชื่อสกุล (generic name) ซึ่งขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ • specific epithet ซึ่งมักจะแสดงลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น และเขียนด้วยอักษรตัวเล็ก • อาจมีชื่อบุคคลผู้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ (author name) นั้นกำกับไว้ด้วยก็ได้ แต่ไม่ต้องเขียนตัวเอนหรือขีดเส้นใต้ • ตัวอย่างเช่น ช้าง ElephasmaximusLinn.อรพิม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bauhinia winitiiCraib.

  30. สำหรับ specific epithet นั้นแสดงลักษณะเด่นของสิ่งมีชีวิตได้หลายลักษณะ เช่น สีสัน : alba = สีขาว , rubra = สีแดงfla = สีเหลือง, versicolor = หลายสี รูปร่าง : giganavtea = ขนาดยักษ์, grandis = ขนาดใหญ่nana = แคระ, repens = เลื้อย การใช้ประโยชน์ : sativus = เป็นอาหาร, edulis = รับประทานได้hortensis = ปลูกประดับ, toxicaria = เป็นพิษ สถานที่ : indica = อินเดีย, siamensis = ไทยchinensis = จีน, brasiliensis = บราซิล

  31. ไส้เดือนดิน Lumbricusterrestristerrestrisหมายถึง อาศัยอยู่บนบกหรือในดิน

  32. มะม่วง Mangiferaindicaindicaหมายถึง ประเทศอินเดีย

  33. จำปี Michelia albaalbaหมายถึง สีขาว

  34. ปูเจ้าฟ้า Phricothalphusasirindhornsirindhornมาจากพระนามของสมเด็จพระเทพฯ

  35. การจัดจำแนกกลุ่มของสิ่งมีชีวิตการจัดจำแนกกลุ่มของสิ่งมีชีวิต ออเดอร์ (Order) วงศ์ (Family) สกุล (Genus) สปีชีส์ (Species) • โดเมน (Domian) • อาณาจักร (Kingdom) • ไฟลัม (Phylum)/ ดิวิชัน (Division) • คลาส (Class)

More Related