550 likes | 879 Views
3. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. สิ่งแวดล้อม. มนุษย์. ธรรมชาติ. รูปธรรม. มีชีวิต. ระบบประดิษฐกรรม (Technosphere). ระบบชีวภาพ/ชีวลัย (Biosphere). นามธรรม. ไม่มีชีวิต. ระบบเศรษฐกิจ & สังคม (Secioeconosphere). ระบบกายภาพ (Ecosphere). ประเภทสิ่งแวดล้อม. สิ่งแวดล้อม VS ทรัพยากร.
E N D
3. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม มนุษย์ ธรรมชาติ รูปธรรม มีชีวิต ระบบประดิษฐกรรม (Technosphere) ระบบชีวภาพ/ชีวลัย (Biosphere) นามธรรม ไม่มีชีวิต ระบบเศรษฐกิจ&สังคม (Secioeconosphere) ระบบกายภาพ (Ecosphere) ประเภทสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม VSทรัพยากร • คุณภาพดินในประเทศไทย กำลังเสื่อมโทรม • ประเทศไทยมีเนื้อที่ 320 ล้านไร่ • น้ำแม่น้ำท่าจีนกำลังเน่าเสีย เพราะน้ำทิ้งจากโรงงาน อุตสาหกรรม • แม่น้ำท่าจีนมีปริมาณน้ำเฉลี่ย รายปี 2,153 ล้าน ลูกบาศก์เมตร
ใช้ไม่หมด ทรัพยากร เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง พลังงาน แสง ลม ที่ดิน คุณภาพน้ำ ใช้หมด สามารถคงสภาพเดิม นำกลับมาใหม่อีกไม่ได้ ป่า สัตว์ ปลา ถ่านหิน น้ำมัน ทำให้มีใหม่ไม่ได้ นำกลับมาใช้ใหม่ได้ พันธุ์สัตว์/พืช โลหะต่างๆ
ที่มาของปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มาของปัญหาสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม มนุษย์ใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากร มีอยู่อย่างจำกัด มีความต้องการที่ไม่จำกัด
สาเหตุหลักของปัญหาสิ่งแวดล้อมสาเหตุหลักของปัญหาสิ่งแวดล้อม การเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
การเพิ่มขึ้นของประชากรการเพิ่มขึ้นของประชากร ทำให้มนุษย์ใช้ทรัพยากรมากขึ้นขาดการวางแผน ขาดการจัดการที่ดีขาดจิตสำนึก เกิดการใช้ทรัพยากรที่เกินขีดความสามารถในการรองรับ การขยายตัวของเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม(Depletion)ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม(Depletion) การใช้ทรัพยากรที่เกินขีดความสามารถในการรองรับ ปัญหาสังคม (Social Problem) ภาวะมลพิษ (Pollution) ผลจากปัญหาสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมชวนคิด • ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ระดมสมอง เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในประเทศไทยด้านต่างๆ ดังนี้ • กลุ่มที่ 1 ปัญหาทรัพยากรดิน • กลุ่มที่ 2 ปัญหาทรัพยากรน้ำ • กลุ่มที่ 3 ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ /สัตว์ป่า • กลุ่มที่ 4 ปัญหาทรัพยากรทางทะเล • กลุ่มที่ 5 ปัญหามลพิษ
สรุปปัญหาสิ่งแวดล้อม การเพิ่มขึ้นของประชากร (Populaion Growth) ชีวาลัย (Biosphere) ทรัพยากรร่อยหรอ (Resource Depletion) สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (Pollution) การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (Economic Growth and Technological Progress) ที่มา นาท ตัณทวิรุษห์ (2528)
สิ่งแวดล้อม ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
สิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกันผลกระทบจากปัจจัยหนึ่ง จะมีส่วนเสริมสร้างหรือทำลายอีกส่วนหนึ่ง เมื่อมนุษย์นำสิ่งที่อยู่รอบตัวมาใช้ประโยชน์ จึงเรียกว่า “ทรัพยากร”
สถานการณ์ด้านทรัพยากรดินสถานการณ์ด้านทรัพยากรดิน • ใช้ที่ดินผิดประเภท • ความเสื่อมโทรมของที่ดิน • ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ • การชะล้างพังทลายของดิน
ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและน้ำในการเกษตรปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและน้ำในการเกษตร การเกษตรที่มีพัฒนาการผลิตให้ได้ปริมาณของผลผลิตมากขึ้น เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาใช้ในการผลิต เช่นปุ๋ยเคมี เครื่องจักรกล ความเอาใจใส่ต่อดินน้อยลง ดินเสื่อม การไถพรวนทำให้ดินถูกชะล้างพังทลาย (ลม/น้ำ) ได้ง่ายการเปิดหน้าดินทำให้หน้าดินรับแสงเต็มที่ เกิดการระเหยของน้ำประกอบกับไม่มีรากไม้ดูดซับน้ำ ทำให้ดินแห้งและเสื่อมคุณภาพเร็ว
ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและน้ำในการเกษตรปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและน้ำในการเกษตร ดินเสื่อม การทิ้งช่วงในการทำนาปรังทำให้ต้องทิ้งพื้นที่ให้ว่างเปล่าวัชพืชปกคลุม เมื่อถึงฤดูกาลใหม่ ก็ เผา ทำให้อินทรีย์วัตถุและสิ่งมีชีวิตเล็กๆตาย!!! การหมุนเวียนของธาตุอาหาร ขาด ดินเสื่อม(หันมาใช้ปุ๋ยเคมี)
สถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำสถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำ • การปนเปื้อนของสารเคมีในแหล่งน้ำ • น้ำทิ้ง น้ำเสีย ปนเปื้อนในแหล่งน้ำ • แหล่งน้ำตื้นเขิน • ขาดแคลนน้ำในหน้าแล้ง • น้ำท่วมในหน้าฝน (อุทกภัย)
สถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำสถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำ การทำลายป่าไม้เพื่อการเกษตรทำให้ขาดพื้นที่ดูดซับ จึงเกิดการชะล้างพังทลายของดินลงสู่แหล่งน้ำ เป็นผลให้แหล่งน้ำขุนข้นและตื้นเขิน ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมฉับพลันและเกิดความขาดแคลนน้ำในหน้าแล้ง
สถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำสถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำ
สถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำสถานการณ์ด้านทรัพยากรน้ำ
สถานการณ์ด้านทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งสถานการณ์ด้านทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง • การจับปลามากเกินไป • ป่าชายเลน ปะการัง หญ้าทะเลถูกทำลาย • ระบบนิเวศขาดความสมดุล • ถูกคุกคามจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ
ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เป็นทรัพยากรที่สำคัญในการเป็นแหล่งอาหารที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้นเมื่อเกิดการเสื่อมโทรมย่อมส่งผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสื่อมโทรมลงของแหล่งฟักตัวของสัตว์น้ำ “ป่าชายเลน” โดยมีสาเหตุมาจาก 1.แหล่งท่องเที่ยว เช่น การสร้างที่พักหรือผลกระทบต่างๆที่มากับนักท่องเที่ยว หรือแม้กระทั้งการระบายของเสียของโรงแรมต่างๆ2.การทำการเกษตร และการทำประมง เช่น การเลี้ยงกุ้ง การทำนาเกลือ 3. อื่นๆ เช่น การรั่วของน้ำมัน การเกิดภัยธรรมชาติ เป็นต้น
สถานการณ์ด้านทรัพยากรป่าไม้/สัตว์ป่าสถานการณ์ด้านทรัพยากรป่าไม้/สัตว์ป่า • ปัจจุบันร้อยละ 32.65 ของพื้นที่ทั่วประเทศ (ป่าสมบูรณ์เพียง ร้อยละ 25 ของพื้นที่ทั่วประเทศ) • การตัดไม้ทำลายป่า • การบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อทำกิน • สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
สถานการณ์ด้านทรัพยากรป่าไม้/สัตว์ป่าสถานการณ์ด้านทรัพยากรป่าไม้/สัตว์ป่า
สถานการณ์ด้านทรัพยากรป่าไม้/สัตว์ป่าสถานการณ์ด้านทรัพยากรป่าไม้/สัตว์ป่า
สถานการณ์ด้านทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสถานการณ์ด้านทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงาน • แร่ธาตุถูกนำมาใช้อย่างไม่คุมค่า • การนำแร่ธาตุมาใช้มีผลทำลายทรัพยากรอย่างอื่น • ขาดแคลนพลังงานบางอย่าง • กระแสของการประหยัดพลังงานมีมากขึ้น แต่ผลในทางปฏิบัติไม่ชัดเจน
สถานการณ์ด้านมลพิษ • ขยะมากขึ้น • คุณภาพอากาศแย่ลง • มลภาวะทางสังคม
ปัญหามลพิษในอากาศ ฝนกรด
ปัญหามลพิษในชุมชน ปัญหาจากใช้ทรัพยากรของมนุษย์ที่ผิดๆ นอกจากจะส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อมนุษย์ด้วยกันเอง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนี้ 1.ปัญหาการแย่งชิงทรัพยากร 2.ปัญหาขยะและมลพิษในเมือง3.ปัญหาการขาดแคลนพลังงาน4.ปัญหามลพิษในสถานประกอบการ5.ปัญหาสารพิษตกค้างในอาหารและสิ่งแวดล้อม
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อมของไทยการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อมของไทย เกณฑ์ มูลค่า ความเสียหายของปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสำรวจทัศนคติของประชาชน ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรที่สมควร ได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน • ทรัพยากรพลังงาน • ทะเลชายฝั่ง • ป่าชายเลน • มลพิษจากสารอันตราย • ทรัพยากรธรณี • มลพิษทางเสียง • ป่าไม้ • น้ำ • ดิน • ขยะ • อากาศ มูลค่าความเสียหาย รวมพันล้านบาท
สถานการณ์สิ่งแวดล้อมในประเทศไทยสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในประเทศไทย • เริ่มได้รับผลกระทบอย่างชัดเจนหลังจากใช้แผน 1-7 เป็นต้นมา การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดด ไปข้างหน้า สังคม วัฒนธรรม และคุณภาพคน ก้าวกระโดด ไปข้างหลัง • ในแผน 4 เริ่มมีการตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม • ในแผน 8-9 แนวคิดพัฒนาแบบองค์รวม บูรณาการทุกด้านให้เชื่อมโยงกัน คือ “คน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม” • ในแผน 10 ยึด“คน”เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง บนพื้นฐานของความสมดุลและความยั่งยืน
พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2518 (ปัจจุบัน พ.ร.บ. ฉบับ พ.ศ. 2535) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของกรมควบคุมมลพิษ ดังนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กฎหมายอื่นๆ
ปรากฏการณ์สิ่งแวดล้อมระดับโลกและผลกระทบปรากฏการณ์สิ่งแวดล้อมระดับโลกและผลกระทบ • ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green House effect) • ปรากฏการณ์แอลนิโญ และลานิญา • การเกิดภัยพิบัติรุนแรง เช่น สึนามิ เฮอริเคน ฯลฯ
ปัญหาความเสื่อมโทรมของชั้นบรรยายกาศปัญหาความเสื่อมโทรมของชั้นบรรยายกาศ ปรากฎการณ์เรือนกระจก
ปรากฎการณ์เรือนกระจก ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) = ก๊าซเหล่านี้มีคุณสมบัติพิเศษ คือสามารถดูดกลืนและคายรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดได้ดีมาก ดังนั้นเมื่อพื้นผิวโลกคายรังสีอินฟราเรดขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ ก๊าซเหล่านี้จะดูดกลืนรังสีอินฟราเรดเอาไว้ ต่อจากนั้นมันก็จะคายความร้อนสะสมอยู่บริเวณพื้นผิวโลก และชั้นบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น พื้นผิวโลกจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้น เราเรียกก๊าซที่ทำให้เกิดภาวะแบบนี้ว่า "ก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gases)"
ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) ก๊าซเฉื่อย (Inert Gas) มีความคงตัวสูงมาก สามารถล่องลอยอยู่ในบรรยายกาศจนถึงชั้นโอนโซน (O3) ทำให้โมเลกุลของโอโซนกลายเป็นออกซิเจน และสารประกอบอื่นๆ ทำให้โอโซนบางลง เป็นเหตุให้ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์สามารถผ่านโอโซนมายังโลกได้มากขึ้น โลกร้อนขึ้น
ธรณีพิบัติภัยจากคลื่น Tsunami ทางภาคใต้ของไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 เวลาประมาณครึ่งชั่วโมง ทำให้มีผู้บาดเจ็บ 8,457 ราย ผู้เสียชีวิต 5,388 ราย สูญหาย 3,120 ราย และความเสียหายทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมมากเหลือคณานับ
เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2548 ที่ผ่านมานี้ เฮอริเคน Katrina ได้ถล่มสหรัฐฯ สร้างความเสียหาย (ทั้งชีวิตและทรัพย์สิน) ประมาณ 2.5 ล้านล้านบาท เพราะความเสียหายที่เกิดในแต่ละครั้งมาก
แนวทางแก้ไขในอนาคต มาตรการทางกฎหมาย • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มี 8 มาตรา ที่ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ได้แก่ มาตรา 45,46,56,58,59,60,69,79 • พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม 2535 • พ.ร.บ. ป่าไม้ 2484 • กฎกระทรวง,ประมวลกฎหมายอาญา • ฯลฯ
แนวทางแก้ไขในอนาคต มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ • การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม EIA Environmental Impact Assessment • ประเมินราคาออกมาในรูปแบบของภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ค่าบริการ ฯลฯ • ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย , ภาษีน้ำมัน , ภาษีขยะ ฯลฯ
แนวทางแก้ไขในอนาคต มาตรการทางสังคมศาสตร์ • HIA ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต • SIA ประเมินผลกระทบทางสังคมจากโครงการพัฒนา • การขัดเกลาทางสังคม • สถาบันทางสังคม • การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในโอกาสต่างๆ
แนวทางแก้ไขในอนาคต มาตรการทางการศึกษาและจริยธรรม • การศึกษาเพื่อสร้างค่านิยมและจริยธรรมทางสิ่งแวดล้อม • การอบรมสั่งสอนให้เห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อม • หลักการเกื้อกูลในระบบนิเวศ (พุทธจริยศาสตร์)
แนวทางแก้ไขในอนาคต หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน • การพัฒนาเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของคนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่เบียดเบียนคนรุ่นต่อไป • การพัฒนาที่มีความสมดุลระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเสมอภาคทางสังคม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม • การพัฒนาแบบบูรณาการ • ดุลยภาพระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมามนุษย์กับการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา ที่ผ่านมาประเทศไทยประสบกับปัญหาสิ่งแวดล้อมมาโดยตลอดไม่ว่าจะเป็นอากาศเป็นพิษ การเกิดภัยธรรมชาติต่างๆ (น้ำท่วม ดินถล่ม ) การสูญเสียป่าไม้ การเสื่อมของคุณภาพดิน ปัญหาน้ำเสีย หรือแม้กระทั่งปัญหาการขาดแคลนน้ำ ประเทศไทยได้พยายามแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมกันมานานพอสมควร มีการออกกฎหมายต่างๆ มากมายมาควบคุม แต่ขณะเดียวกันองค์กรธุรกิจ องค์กรต่างๆ ก็มีมากมาย การควบคุมมาจากพนักของรัฐ ผลปรากฏว่าก็มิได้ทำให้ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมลดน้อยลง ตรงกันข้ามดูเหมือนกลับจะทวีความรุนแรงมากขึ้นด้วยซ้ำ
1. การแก้ที่ปลายเหตุ การสร้างที่บำบัดของเสีย, บ่อกำจัดน้ำเสีย ซึ่งเมื่อมีปัญหาแล้วก็จะต้องคอยตามแก้ที่ปลายเหตุ (End of Pipe) 2. การควบคุมโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควบคุมโดยกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ใช้หลักเกณฑ์ผู้สร้างมลพิษเป็นผู้จ่าย (Polluter Pay Principle) 3. การแก้ไขด้วยการจัดการ เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology) ซึ่งเป็นวิธีการในการแก้ไขปัญหา ISO 14000 : มาตรฐานฯ การจัดการสิ่งแวดล้อม ฉลากเขียว (Eco Labeling) เป็นเครื่องหมายรับรอง ให้กับผลิตภัณฑ์ที่สร้างมลพิษน้อย
http://www.environnet.in.th/evdb/law/national/managment/21002.htmlhttp://www.environnet.in.th/evdb/law/national/managment/21002.html กฎหมายสิ่งแวดล้อมของไทย กฎหมายสิ่งแวดล้อมของโลก
http://www.environnet.in.th/evdb/law/national/managment/21002.htmlhttp://www.environnet.in.th/evdb/law/national/managment/21002.html นโยบายสิ่งแวดล้อมไทย นโยบายสิ่งแวดล้อมโลก ข้อมูลน่ารู้ และงานวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
www.ldd.go.thกรมพัฒนาที่ดิน www.dmr.go.thกรมทรัพยากรธรณี www.dtcp.go.th กรมโยธาธิการและผังเมือง www.dnp.go.thกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช www.deqp.go.thกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม www.doae.go.thกรมส่งเสริมการเกษตร www.soilwafer.comเทคโนโลยีการจัดการดิน น้ำ ปุ๋ย www.chumchonthai.or.thมูลนิธิชุมชนไท www.tei.or.thสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย www.kanchanapisek.or.thเครือข่ายกาญจนาภิเษก www.monre.go.thกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม www.nso.go.thสำนักงานสถิติแห่งชาติ
สรุป ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น มนุษย์เป็นผู้ทำลายสิ่งแวดล้อม จึงต้องได้รับผลกระทบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การป้องกัน แก้ไขปัญหา จึงต้องเริ่มจาก “มนุษย์” การพัฒนาที่ยั่งยืน คือแนวทางการพัฒนาของโลกยุคศตวรรษที่ 21
การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดคือ “มนุษย์” การอนุรักษ์ คนทั่วไปมักเข้าใจผิดว่า การอนุรักษ์ คือ การเก็บรักษาไม่นำทรัพยากรมาใช้ แต่ที่จริงแล้วการอนุรักษ์ คือ การที่มนุษย์รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน คือ การพัฒนาที่ทำให้คนในปัจจุบันมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นแต่ไม่ส่งผลให้คนในอนาคตได้รับผลกระทบที่เลวลง