820 likes | 1.02k Views
การเตรียมความพร้อมบุคลากรและองค์กรสาธารณสุขสู่ภูมิภาคอาเซียนท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง. นพ. พิเชฐ บัญญัติ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖. ประเด็นสำคัญ. 1. สังคมใหม่ของอาเซียน 2. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ การเคลื่อนย้ายประชากรแรงงาน ปัญหาเศรษฐกิจ
E N D
การเตรียมความพร้อมบุคลากรและองค์กรสาธารณสุขสู่ภูมิภาคอาเซียนท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงการเตรียมความพร้อมบุคลากรและองค์กรสาธารณสุขสู่ภูมิภาคอาเซียนท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง นพ. พิเชฐ บัญญัติ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ประเด็นสำคัญ 1. สังคมใหม่ของอาเซียน 2. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ • การเคลื่อนย้ายประชากรแรงงาน • ปัญหาเศรษฐกิจ 3. การสาธารณสุขแนวใหม่ของไทย (ระดับพื้นที่) 4. บทบาทใหม่ของบุคลากรสาธารณสุข
สังคมใหม่ New society Social change แนวคิดใหม่ New concept Rethink ระบบสุขภาพใหม่ New Health System โครงสร้างใหม่ New structure redesign บทบาทใหม่ New role Redo การปฏิรูปและการจัดการระบบสุขภาพ ที่มา: พิเชฐ บัญญัติ, 2551
Strategy Structure Shared values Staff System Style Skill McKinsey ’ s 7-S model
สิ่งท้าทายราชการ ในประเทศ นอกประเทศ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ ความขัดแย้ง ระหว่างประเทศ สังคม การเมือง ภาวะโลกร้อน เทคโนโลยีสารสนเทศ การแข่งขัน ระดับภูมิภาค การรวมตัว ระดับภูมิภาค ระบบราชการ
วิวัฒนาการองค์การสมัยใหม่วิวัฒนาการองค์การสมัยใหม่ องค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การอัจฉริยะ Intelligent Organization องค์การแบบเครื่องจักร องค์การคุณภาพ องค์การแบบสิ่งมีชีวิต วัฒนธรรมองค์การ องค์การ เคออร์ดิกส์ องค์การบริหารตนเอง องค์การสมรรถนะสูง ที่มา : ดัดแปลงจากพิเชฐ บัญญัติและคณะ, 2549
“....เศรษฐกิจที่แตกแยกในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแต่ละประเทศดำเนินการตามจุดประสงค์ของตนภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด โดยมีความขัดแย้งระหว่างประทศในภูมิภาค นำมาซึ่งความอ่อนแอของภูมิภาค อาเซียนควรจัดสรรศักยภาพที่มีของภูมิภาคอันอุดมสมบูรณ์นี้ด้วยการร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ....” คำกล่าวของนายนาร์ชิโช รามอส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศฟิลิปปินส์ ในการลงนามใน “ปฏิญญาอาเซียน” วันที่ 8 สิงหาคม 2510 ที่ประเทศไทย
One Vision, One Identity, One Community หนึ่งวิสัยทัศน์, หนึ่งเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม 8 สิงหาคม วันอาเซียน
รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงินรูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงิน รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีผลผลิต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ
เป้าหมาย : เพื่อให้ประชาชนของประเทศสมาชิกมีการค้าขาย ระหว่างกันมากขึ้น มีการไปมาหาสู่กันได้อย่างสะดวก และมีศักยภาพในการแข่งขันกับโลกภายนอกได้ ผลกระทบที่เกิดขึ้น 1.เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (เสรีการเคลื่อนย้าย บริการ สินค้า ทุน) 2.มีขีดความสามารถในการแข่งขัน (โครงสร้างพื้นฐาน สิทธิทางปัญญา ICT พลังงาน ) 3.มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน (การมีส่วนร่วมและลดช่องว่างการพัฒนา) 4.บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยเสาหลัก 3 เสา ดังต่อไปนี้ 1.ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน(ASEAN Security Community – ASC) 2.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) 3.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)
ASEAN Community 2015 ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ASEAN Political-Security Community ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 1. มีกฎ กติกา เป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน 2. มีความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน 3. มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน 4. มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5. มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ด้วยดี 6. มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน 7. มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคาม ความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1.เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง 2.มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน 3.มีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 4.ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 5.ส่งเสริม อัตลักษณ์อาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) 2. มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 3. มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. สามารถบูรณาการเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก 5. เกิดการรวมตัวทางเศรษฐกิจและอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขาย 6. เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของ สินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ 7. ลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางสังคม 8. ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก 9. ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงินและตลาดทุน การประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม 10. พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว 11. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือแรงงาน
เป้าหมายการขับเคลื่อนเป้าหมายการขับเคลื่อน ในช่วงเวลานับจากนี้จนถึงปี2558ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องช่วยกันผลักดันให้อาเซียนเป็นประชาคมที่ มุ่งเน้นการปฏิบัติ (Community of Action) มีการเชื่อมโยงและติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างใกล้ชิด(Community of Connectivity) เป็นประชาคมเพื่อประชาชนอย่างแท้จริง (Community of People)
สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงที่สำคัญของโลกสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงที่สำคัญของโลก • กระแสโลกาภิวัฒน์ทำให้โลกมีการเปลี่ยนแปลงผันผวนสูงตลอดเวลา • การค้าเสรีและการรวมกลุ่มเศรษฐกิจแพร่หลายทั่วโลก • การเคลื่อนตัวของสังคมการเมืองโลกจากยุคสองขั้ว สู่ยุคขั้วเดียวและกำลังก้าวสู่ยุคหลายขั้ว • ภูมิภาคเอเชียมีความสำคัญในระบบเศรษฐกิจโลกมากขึ้น • การเคลื่อนตัวของโลกจากยุคเศรษฐกิจเก่า สู่ยุคเศรษฐกิจใหม่และกำลังก้าวสู่ยุคเศรษฐกิจเขียว • การจัดการเกี่ยวกับการไร้สมดุลด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม อาหาร พลังงาน และสิ่งแวดล้อมโลก
เปรียบเทียบการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศ ในอาเซียน ก่อนAECหมายถึง ๒๐๐๑-๒๐๑๕ หลังAECหมายถึง ๒๐๑๖-๒๐๒๐ จากIMF
รูปแบบการค้าบริการ • Mode 1 การให้บริการข้ามพรมแดน • Mode 2 การเดินทางไปบริโภคในต่างประเทศ • Mode 3 การจัดตั้งธุรกิจ • Mode 4 การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา
สิ่งที่ต้องเตรียมการทั่วไปสิ่งที่ต้องเตรียมการทั่วไป นับเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง ต้องไม่ให้การเปลี่ยนแปลงนี้มากระทบเราอย่างทุลักทุเล เราต้องเตรียมความพร้อมทันที ตลอดเวลา โดยเฉพาะบุคลากรต้องตามให้ทันและยืดหยุ่นปรับตัวให้รับสถานการณ์ได้ ภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาราชการของอาเซียนบุคลากรและนักศึกษา ต้องเพิ่มทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ ให้สามารถสื่อสารได้ ทุกคนต้องปรับปรุงความเข้าใจทางประวัติศาสตร์ เพื่อลดข้อขัดแย้งในภูมิภาคอาเซียน โดยรัฐบาลต้องให้ความรู้เรื่องอาเซียนแก่ประชาชนอย่างเป็นระบบทั่วถึง สร้างบัณฑิตให้สามารถแข่งขันได้ในอาเซียน และเพิ่มโอกาสในการทำงาน ไม่เช่นนั้น จะถูกแย่งงานเพราะเกิดการเคลื่อนย้ายแรงงาน/บริการอย่างเสรี คณะกรรมการวิชาชีพ สภาวิชาชีพ ต้องเตรียมการรองรับผลกระทบนี้อย่างเร่งด่วน ประเทศไทยควรฉวยโอกาสในการเป็น Hub ของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น ด้านพาณิชย์ ด้านการศึกษา โดยอาศัยความได้เปรียบในเชิงภูมิศาสตร์ของประเทศไทย
การเตรียมตัวของภาคราชการโดยรวมการเตรียมตัวของภาคราชการโดยรวม เมื่อเกิดประชาคมอาเซียน ความร่วมมือจะเพิ่มมากขึ้นในทุกๆด้าน จะมีการติดต่อกันระหว่างหน่วยงานราชการต่างๆของประเทศสมาชิกอาเซียนเพิ่มมากขึ้น เพราะฉะนั้น เมื่อเกิดประชาคมอาเซียน ความร่วมมือในทุกๆด้านจะเพิ่มมากขึ้น และข้าราชการเกือบจะทุกกระทรวง ทบวง กรม จะต้องเกี่ยวข้องกับเรื่องของอาเซียนมากขึ้น จึงต้องมีการปรับตัว เพื่อที่จะให้ทันกับประเทศอาเซียนอื่นๆ จะมีการแข่งขันกันมากขึ้นในการปฏิสัมพันธ์กันในระบบราชการต่างๆ ระบบราชการไทยจะต้องทำงานให้ทันกับระบบราชการในประเทศอาเซียนอื่นๆ อย่างเช่น สิงคโปร์ ซึ่งได้ชื่อว่าระบบราชการมีประสิทธิภาพมาก ราชการไทยต้องตื่นตัวในการรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนมากขึ้นต้องพยายามที่จะรู้จักประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น ซึ่งเป็นประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกันทั้งนั้น รวมทั้งต้องรู้จักภาษาของประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น
การเตรียมตัวของภาคราชการโดยรวม(ต่อ)การเตรียมตัวของภาคราชการโดยรวม(ต่อ) ภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาราชการของอาเซียนในอนาคต จะมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชนอาเซียนมากขึ้น รวมทั้งระหว่างระบบราชการ โดยจะมีการพบปะ เจรจา และประชุมกันมากขึ้น เพราะความร่วมมือต่างๆ จะเกิดมากขึ้นในทุกมิติ ดังนั้น สิ่งที่ราชการไทยต้องรีบปรับตัวอย่างรวดเร็ว ก็คือ ทักษะภาษาอังกฤษ การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน และเปิดกว้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน