220 likes | 419 Views
โครงการพัฒนาคุณภาพ การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T โรงพยาบาลหนองคาย. ขอบเขต. ให้บริการพยาบาลและให้คำปรึกษาผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ ที่ได้รับยาต้านไวรัส และผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส เฝ้าระวังเด็กแรกเกิดถึง 18 เดือน ที่คลอดจากแม่ติดเชื้อ HIV.
E N D
โครงการพัฒนาคุณภาพ การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T โรงพยาบาลหนองคาย
ขอบเขต • ให้บริการพยาบาลและให้คำปรึกษาผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ ที่ได้รับยาต้านไวรัส และผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส • เฝ้าระวังเด็กแรกเกิดถึง 18 เดือน ที่คลอดจากแม่ติดเชื้อ HIV
เข็มมุ่ง ปี พ.ศ. 2551-2553 • พัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ • พัฒนาระบบการบันทึกทางการพยาบาล • พัฒนาระบบนัดและระบบการติดตามเยี่ยมผู้ป่วย • พัฒนาการป้องกันและการเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา • พัฒนาการลงข้อมูลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ • พัฒนาเครือข่ายการดูแลการติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ทั้งจากภายในหน่วยงานและจากหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
เป้าหมาย • ผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น • ความสม่ำเสมอในการรับประทานยาของผู้ป่วย 95-100 % • ผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส ได้รับการติดตามการกินยาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80
โครงการ NAPHA • -โรงพยาบาลหนองคายมีจำนวน 349 เตียง- คลินิกรับยาต้านไวรัสเปิดบริการ รายเก่าทุกวันอังคาร ( 8.00-16.00 น.) รายใหม่ทุกวันพฤหัสบดี ( 8.00-16.00 น. • มีผู้ติดเชื้อ HIV ทั้งหมดที่ลงทะเบียนผ่านโปรแกรม NAP 412 ราย • ผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัสในโครงการหลักประกันสุขภาพ ( NAPHA เดิม ) • มีจำนวนทั้งหมด 346 ราย • ผู้ใหญ่ 170ราย • เด็ก 68ราย • ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสในระบบประกันสังคมมีทั้งหมด 53ราย • ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสที่เบิกได้-จ่ายตรง 14 ราย • - ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสที่ไม่มีสิทธิใดๆชำระเงินค่ารักษาเอง 3 ราย
ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสในโครงการ PHPT ทั้งหมด 38ราย • PHPT ผู้ใหญ่ 34ราย • PHPT เด็ก 4 ราย • ผู้ป่วยโครงการ CARE ทั้งหมด 29 ราย • ได้รับยาต้านไวรัสแล้ว 8 ราย • ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส 21 ราย • ผู้ป่วยโครงการ NAPHA EXTENTION 8 ราย • ผู้ป่วยที่ได้รับยา TB ร่วมกับยาต้านไวรัส 8ราย
สรุปโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติด เชื้อและผู้ป่วยเอดส์ด้วย โปรแกรมHIVQUAL - T ประจำปีงบประมาณ 2549 และปีงบประมาณ 2550
2. การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ
5. การป้องกันการแพร่เชื้อ
6. การตรวจคัดกรองโรงติดต่อทางเพศสัมพันธ์
7. การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(อื่น ๆ)
8. การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ
แผนการปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ (QI Plan ) • ผู้ป่วย HIV ทุกรายต้องได้รับการคัดกรองวัณโรค • ผู้ป่วย HIV ทุกรายต้องได้รับการคัดกรองซิฟิริสและกามโรค • ผู้ป่วย HIV หญิง ทุกรายต้องได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก • ผู้ป่วย HIV ทุกรายต้องได้รับ Saft sex education • ผู้ป่วย HIV ทุกรายต้องได้รับการตรวจ CD4 • - CD4 > 500 Cell ตรวจทุก 1 ครั้ง/ปี • - CD4 > 350-500 Cell ตรวจทุก 6 เดือน • - CD4 > 200-350 Cell ตรวจทุก 3 เดือน • 6.ผู้ป่วย HIV ทุกรายที่ได้รับยาต้านไวรัสต้องได้รับการตรวจ VL อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • 7. ผู้ป่วย HIV ที่มีผล CD4 < 50 cell ต้องได้รับการตรวจ CMVR ทุกราย
ความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม พัฒนาคุณภาพ ( QI Progress ) • ประชุมชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานการดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์แก่เจ้าหน้าที่ทุกหน่วงงานให้ปฏิบัติงานไปในทิศทางเดียวกันเพื่อให้บรรลุตามการวัดผลคุณภาพ HIVQUAL-T • 2. จัดทำตรายางการคัดกรองผู้ป่วยที่ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่มารับการบริการโรงพยาบาลหนองคายโดยให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด HIVQUAL-T • 3. ให้ความรู้ทางวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานพร้อมทั้งสอบถามปัญหาและอุปสรรคที่พบบ่อยในการให้คำปรึกษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อเพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน โดยเข้าร่วมการประชุมประจำเดือนของทุกหน่วยงาน • 4. จัดทำแบบฟอร์มการบันทึกทางการพยาบาลสำหรับผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ตามมาตรฐานตัวชี้วัด HIVQUAL-T • 5. จัดประชุมให้ความรู้แก่ผู้ติดเชื้อในเรื่องโรคติดเชื้อฉวยโอกาสและโรคมะเร็งปากมดลูก เดือนละ 1 ครั้ง
สิ่งที่ได้เรียนรู้ Lesson Learn 1. ได้รับทราบข้อมูลและสถานะของผู้ป่วยในโรงพยาบาล 2. ได้รับความรู้และทัศนคติที่ดีต่อกระบวนการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ 3. ได้เข้าใจวิธีการวัดผลการปฏิบัติงานการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ HIV QUAL-T รวมทั้งสามารถใช้ประโยชน์ผลจากการวิเคราะห์ของโปรแกรมได้อย่างเหมาะสม
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน - ด้วยข้อจำกัดของบุคลากรผู้รับผิดชอบงานและภาระงานที่มากทำให้การดำเนินการจัดเก็บข้อมูลล่าช้าประกอบกับผู้ป่วยที่มีผล HIV Positive บางรายไม่ได้ผ่านเข้ามาในระบบของโรงพยาบาล ซึ่งอาจทำให้ได้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อนและทำให้การเฝ้าระวังผู้ป่วยไม่คลอบคลุม