1 / 36

นานาวิธีวิทยาการถอดบทเรียน

นานาวิธีวิทยาการถอดบทเรียน. โดย...มยุรี ยกตรี. พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่. บทเรียน Lesson Learned. คือ... ความรู้ที่เป็นข้อค้นพบใหม่ หรือบทสรุปที่ได้เรียนรู้ จากประสบการณ์การทำงาน. บทเรียน ?. เป็นความรู้ประเภทหนึ่ง

ewa
Download Presentation

นานาวิธีวิทยาการถอดบทเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นานาวิธีวิทยาการถอดบทเรียนนานาวิธีวิทยาการถอดบทเรียน โดย...มยุรี ยกตรี พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่

  2. บทเรียน Lesson Learned คือ... ความรู้ที่เป็นข้อค้นพบใหม่ หรือบทสรุปที่ได้เรียนรู้ จากประสบการณ์การทำงาน

  3. บทเรียน ? • เป็นความรู้ประเภทหนึ่ง • อธิบายเหตุการณ์ และเงื่อนไขที่เกิดขึ้น • มิใช่เพียงการเล่าเรื่องในอดีต แต่ต้องมี • คำอธิบายที่มีคุณค่าที่จะนำไปปฏิบัติต่อ • ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ไม่กระทำผิดซ้ำอีก

  4. การถอดบทเรียน ? คือ กระบวนการดึงความรู้จากการทำงานออกมาใช้เป็นทุนในการบริหารจัดการ พัฒนาปรับปรุงงานให้ดียิ่งขึ้น

  5. ความรู้ ถอดบทเรียนจาก • วิชาการ • ทฤษฎี • มาจากการสังเคราะห์ วิจัย • เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ • ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์ • ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา • ปฏิบัติ ประสบการณ์ • มาจากวิจารณญาณ ใช้ปฏิภาณ • เป็นเทคนิคเฉพาะตัว • ลูกเล่นของแต่ละคน Explicit Knowledge Tacit Knowledge

  6. มองหาจาก ความสำเร็จ วิธีการถอดบทเรียน ขุดคุ้ยรากเหง้า ของปัญหา

  7. 2. ถอดบทเรียนทั้งโครงการ รูปแบบการถอดบทเรียน 1. ถอดบทเรียนเฉพาะประเด็น

  8. 1.การมีส่วนร่วม ของผู้ เกี่ยวข้อง 2.ทำงานเป็นทีม หัวใจของ การถอด บทเรียน 5.ฝึกฝนสม่ำเสมอ 3.มุ่งอนาคต ที่ดีกว่า 4.สกัดความรู้

  9. ชุดเครื่องมือถอดบทเรียนชุดเครื่องมือถอดบทเรียน • After Action Review ทบทวน • ระหว่างปฏิบัติงาน • Outcome Mapping แผนที่ผลลัพธ์ • Storytelling เรื่องเล่า • Peer Assist เพื่อนช่วยเพื่อน • Retrospect ถอดบทเรียนหลัง • การปฏิบัติงาน • Performance Measurement • การประเมินประสิทธิผลการ • ทำงาน ถอดบทเรียนเฉพาะประเด็น ถอดบทเรียนทั้งโครงการ

  10. พักยก After Action Review : AAR

  11. ไม่ใช่ประเมิน แต่เรียนรู้ร่วมกัน เปิดใจ...อิสระ ถอดหัวโขน เลี่ยงการวิพากย์ วิจารณ์ตัวบุคคล ทบทวน AAR ระหว่างปฏิบัติงาน เป็นความเห็นของกลุ่ม ใช้หลักสุนทรียสนทนา ทำทันทีเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจ พรรษาน้อยกว่าพูดก่อน

  12. ขั้นตอนการทำ AAR กระบวนการฟื้นฟู เสริมกำลังใจ 8.สรุปได้ชุดข้อเสนอแนะ นำไปปฏิบัติได้ทันที 7.จะทำสิ่งต่อไปให้ดีขึ้นอย่างไร 6.กำหนด 3 สิ่งที่ปฏิบัติดี 3 สิ่งที่ยังปฏิบัติไม่ดี 5.ทบทวนการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ 4.กำหนดประเด็น ถอดบทเรียน 3.สร้างบรรยากาศ การเรียนรู้ 2.ระบุผู้เข้าร่วมในกระบวนการ 1.กำหนดเวลา (หลังสถานการณ์จบสิ้นทันที)

  13. Outcome Mapping Behavioral Change Input Activities Big Picture Outputs Outcomes

  14. เล่าความสำเร็จเล็กๆ ถามได้ ฟัง คิด ไตร่ตรอง เล่าเหตุการณ์ที่ประทับใจ Storytelling เรื่องเล่า ไม่เล่าแบบตีความ มีคนชื่นชม ยินดี ผู้ฟังฟังด้วยความตั้งใจ เป็นเครื่องมือดึงศักยภาพของคน มีคนอำนวยความสะดวก ไม่ตีไข่ใส่สี เล่าให้เห็นตัวละคร อารมณ์ ความรู้สึก

  15. เรียนรู้ก่อนที่จะทำ ซักถามให้เกิดปัญญา สนใจเนื้อหาเฉพาะเรื่อง Peer Assist เพื่อนช่วยเพื่อน ศึกษาจากคนภายนอก ผู้ปฏิบัติพบผู้ปฏิบัติ ศึกษาดูงาน มีทีมเหย้า ทีมเยือน

  16. การเรียนรู้หลังการดำเนินงานการเรียนรู้หลังการดำเนินงาน Retrospect • นำบทเรียนไปใช้ใน • โครงการต่อไป • มิใช่เพื่อให้ทีมบรรลุ • เป้าหมายงานเดิม • ถอดบทเรียน เมื่อเสร็จสิ้นสงคราม

  17. 12.บันทึกผลการประชุม มีคำแนะนำเพื่ออนาคต ขั้นตอนการทำ Retrospect 11.จะทำอะไรต่อไป 10.พัฒนากระบวนการให้ผู้เข้าร่วมรู้สึกชื่นชม 9.ปัญหาอุปสรรค จะแก้ไขได้อย่างไร? 8.อะไรที่สามารถทำได้ดียิ่งขึ้น 7.ค้นหาว่าอะไรที่ทำให้ทำได้ดี? มีข้อเสนอแนะอย่างไร 6.ตั้งคำถามว่าอะไรดำเนินไปได้ดี? ทำไม? 5.ทบทวนแผนงาน และกระบวนการดำเนินโครงการ 4.ทบทวนวัตถุประสงค์ และผลงานที่ทำ 3.เลือกวิทยากรผู้อำนวยความสะดวก 2.เชิญแกนนำหลัก และผู้รับผลจากโครงการ 1.จัดประชุมพร้อมหน้า

  18. ความสัมพันธ์ระหว่าง AAR &Retrospect ชุดความรู้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ AAR AAR AAR AAR AAR เริ่มต้น สิ้นสุดโครงการ Retrospect

  19. พร้อมแล้วลงมือทำ ถอดบทเรียน...โครงการเฝ้าระวังเตือนภัยทางสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา ขั้นตอนที่ 1 • นโยบาย หลักการ แนวคิด • วัตถุประสงค์ • เป้าหมายที่วางไว้ • กระบวนการทำงาน

  20. สะท้อนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ตามแนวคำถามที่กำหนดไว้ทีละข้อ บันทึกลงในกระดาษปรู๊ฟ ขั้นตอนที่ 2 • 1.) ความสำเร็จ • สิ่งใดเป็นไปตามเป้าหมาย และกระบวนการที่วางไว้ • อะไรเป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จ

  21. 2.) ความไม่สำเร็จ • สิ่งใดไม่เป็นไปตามเป้าหมาย และกระบวนการที่วางไว้ • อะไรเป็นปัจจัยที่ทำให้ไม่สำเร็จ • 3.) ปัญหาอุปสรรค • มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง • มีการแก้ไขปัญหาอย่างไร หรือคิดว่าจะแก้ไขอย่างไร

  22. 4.) เราน่าจะสามารถทำสิ่งใดให้ดีกว่านี้ได้บ้าง 5.) จากการดำเนินงานที่ผ่านมา เราได้ความรู้ใหม่อะไรบ้าง 6.) ในการดำเนินงานต่อไป เราจะทำอะไรให้ดีกว่าที่ผ่านมา

  23. บันทึกการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 3 • ชื่อโครงการที่ถอดบทเรียน • หลักการเหตุผล ความเป็นมา นโยบาย • วัตถุประสงค์

  24. วิธีดำเนินการ • ใช้เทคนิค Retrospect ในการถอดบทเรียน • วิธีการ หรือขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรม • (อธิบายลำดับขั้นตอนที่กำหนดไว้)

  25. บทเรียน • ผลที่เกิดขึ้นจากการทำงานโครงการเป็นอย่างไร • ปัจจัยเงื่อนไขใดที่ทำให้เป็นเช่นนั้น อะไรคือปัจจัยสนับสนุน • อะไรคืออุปสรรค • เกิดข้อค้นพบ หรือความรู้ใหม่เกี่ยวกับประเด็นนั้นหรือไม่ อย่างไร

  26. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา /ข้อควรระวังในการทำงาน • เอกสารอ้างอิง • ภาคผนวก

  27. Mind Map สมองของเรา แก่นแกน มหัศจรรย์ของสมอง+ความสนุก+ความสุข

  28. แนวทางการเขียน Mind Map 7 ขั้นตอน เริ่มจากกลางหน้ากระดาษ ใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ แทนหัวข้อเรื่อง(แก่นแกน) แผนที่ความคิด Mind Map แก่นแกน ใช้สีสันช่วยเร้าอารมณ์ มีชีวิตชีวา ใช้ปากกาหลายสี ใช้รูปภาพประกอบยิ่งดี เชื่อมโยงกิ่งแก้วเข้ากับแก่นแกน ใช้คำที่สั้น กะทัดรัด เชื่อมกิ่งก้อยออกไปเป็นขั้น 2 วาดกิ่งที่มีลักษณะเป็นเส้นโค้ง กิ่งก้อยขั้น 3-4

  29. มองเห็นภาพรวม ของความคิดทั้งหมด น คนอ่านมีความสุข เข้าใจง่าย Mind Map ประโยชน์ จัดรูปความคิดให้สอดคล้อง สัมพันธ์กับการทำงานของสมอง คนทำสนุก มีความสุข เห็นความเชื่อมโยง สัมพันธ์กันของข้อมูลต่างๆ ทำให้จดจำได้ดี ผ่อนคลาย ไร้ขอบเขต ช่วยให้ความคิดหลั่งไหลต่อเนื่อง

  30. ภูเก็ต วิตามินซี โอ ศรีราชา เขียวหวาน นางแล เช้ง ภูแล จี๊ด เปรี้ยว สับปะรด น้ำส้ม ส้ม หวาน กลม แตงโม แดง เหลือง ฝรั่ง กล้วย ดอง หักมุก เค็ม วิตามินซี น้ำว้า หอม ไข่ น้ำ

  31. ผลที่ได้จากการถอดบทเรียนผลที่ได้จากการถอดบทเรียน งานสำเร็จ งานสำเร็จเกิดประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล เกิดความรู้ที่หลากหลาย กระบวนการสังเคราะห์ที่เป็นเชิงระบบ มีฐานข้อมูลที่ดีสามารถอ้างอิงได้ สามารถต่อยอดและเผยแพร่ได้

  32. บุคลากร บุคลากรได้พัฒนาทักษะ การฟัง การคิด การพูด การวิเคราะห์ สังเคราะห์ บันทึก และการนำเสนอ เพื่อให้เกิดความรู้ เกิดองค์ความรู้ และเกิดประสบการณ์

  33. องค์กร องค์กรเกิดการพัฒนาทุกระบบ อาทิ คน งาน ระบบข้อมูล เกิดความมั่นคง เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ บรรลุเป้าหมายขององค์กร ยกระดับเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

  34. ชุมชน ชุมชนเกิดภาคีเครือข่าย มีความเข้มแข็ง เกิดการพัฒนาบูรณาการเรียนรู้ในทุกชุมชน ซึ่งนำไปสู่การเอื้ออาทร มีน้ำใจ ของคนในสังคม และเกิดการเฝ้าระวังทางสังคม

  35. สังคม สังคมเกิดความสมานฉันท์ เกิดความเสมอภาคทั้งทางร่างกาย และจิตใจในสังคมทุกระดับ มีความเข้มแข็ง เกิดการเรียนรู้ เกิดการแบ่งปัน และอยู่รวมกันอย่างมีความสุข

  36. ทุกคนมีปัญญาเปรียบเสมือนแสงเทียนทุกคนมีปัญญาเปรียบเสมือนแสงเทียน ที่ส่องสว่างทั้งกลางวันและกลางคืน แตกต่างกันตรงที่ว่าเราจะนำออกมาใช้อย่างไร ?

More Related