230 likes | 435 Views
การประเมินพันธุกรรมสัตว์จากค่าการผสมพันธุ์ ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 55+ ปุจฉา : ค่าการผสมพันธุ์คืออะไร ?. วิสัชนา : ตัวเลข หรือ ค่าทางสถิติ ที่สื่อถึงความสามารถในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูก ยกตัวอย่างเช่น.
E N D
การประเมินพันธุกรรมสัตว์จากค่าการผสมพันธุ์ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้มภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
55+ ปุจฉา: ค่าการผสมพันธุ์คืออะไร ? วิสัชนา: ตัวเลข หรือ ค่าทางสถิติ ที่สื่อถึงความสามารถในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูกยกตัวอย่างเช่น พ่อ = 100 แม่ = 100 ลูก = 100
P = G + E A + D + I EBV =การประมาณค่าการผสมพันธุ์ =Estimated Breeding Value
ทำไมต้องประเมินค่าการผสมพันธุ์ทำไมต้องประเมินค่าการผสมพันธุ์ How much true EBV ! EBV = + Genetic Statictics Math
EBV ผลผลิตน้ำนมรายเดือน คุณภาพน้ำเชื้อ ผลผลิตไข่จากวันให้ไข่ฟองแรกจนกระทั่งหยุดไข่ ขนาดครอกของสุกรต่อครอก EBV มีค่าตั้งแต่ –infinity ถึง +infinity นะครับ น้ำหนักตัวรายเดือน ผลผลิตขนในแกะ
ค่า EBV ที่วิเคราะห์ได้ในปัจจุบัน มาจากการคำนวณโดยใช้ข้อมูล 4 แหล่ง หลักๆดังนี้ครับ
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ 1: สัตว์มีข้อมูลเพียงบันทึกเดียว กรณีที่ 2: สัตว์มีข้อมูลหลายบันทึก การประเมินค่าการผสมพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากบันทึกตัวเอง เมื่อ = ค่าเฉลี่ยฝูง (herd average) = ค่าสังเกตเฉลี่ยจากสัตว์ที่ประเมิน = จำนวนค่าสังเกตจากสัตว์ที่ประเมิน = ค่าอัตราซ้ำของลักษณะ = ค่าอัตราพันธุกรรมของลักษณะ
ตัวอย่าง:จากข้อมูลการผลิตน้ำนมของแม่โค A, B, Cกำหนดให้แม่โคฝูงนี้มีค่าเฉลี่ยน้ำนมเท่ากับ 1,150กก. และมีค่าอัตราซ้ำเท่ากับ 0.5และอัตราพันธุกรรมมีค่า 0.4จงประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ของแม่โค สรุปแม่โค C ควรคัดเลือกไว้เป็นลำดับแรกเนื่องจากมีคุณค่าทางพันธุกรรมของลักษณะการให้นมสูงสุด • EBV (cow A)= = 1,190.0 กก./ระยะการให้นม • EBV (cow B)= = 1,195.05 กก./ระยะการให้นม • EBV (cow C)= = 1,209.52 กก./ระยะการให้นม
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ 1: มีข้อมูลบรรพบุรุษเพียงบันทึกเดียว กรณีที่ 2: มีข้อมูลบรรพบุรุษหลายบันทึก เมื่อ= ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์(relationship coefficient) การประเมินค่าการผสมพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากบรรพบุรุษ รุ่นทวด ความสัมพันธ์ 1/8 รุ่นปู่ย่าตายาย • พันธุ์ประวัติ หมายถึงการอาศัยข้อมูลบันทึกนับตั้งแต่ชั่วรุ่นพ่อแม่ย้อนกลับขึ้นไป • บรรพบุรุษชั่วที่อยู่ใกล้เช่นรุ่นพ่อแม่จะมีอิทธิพลของการถ่ายทอดมากกว่าชั่วที่อยู่ไกลออกไปเช่นรุ่นปู่ย่าตายาย ความสัมพันธ์ 1/4 รุ่นพ่อแม่ ความสัมพันธ์ 1/2 รุ่นลูก
ตัวอย่าง: จงประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ของการให้นมของลูกโคเพศผู้ตัวหนึ่งซึ่งมีแม่ให้นมมาแล้ว 3 ระยะการให้นมโดยมีนมเฉลี่ย 2,550 กก. กำหนดให้ค่าเฉลี่ยฝูงมีค่า 2,500 กก. ค่าอัตราพันธุกรรมมีค่า 0.3 และค่าอัตราซ้ำมีค่า 0.4 ค่า EBV ของลูกโคเพศผู้ตัวนี้เท่ากับ2,512.5 กก.ต่อระยะการให้นม
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ 1: มีข้อมูลญาติพี่น้องเพียงบันทึกเดียว • กรณีที่ 2: มีข้อมูลญาติพี่น้องหลายบันทึก • กรณีที่ 3: มีข้อมูลญาติพี่น้อง ร่วมกับ ข้อมูลตนเอง เมื่อ= ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์(relationship coefficient) การประเมินค่าการผสมพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากญาติพี่น้อง หมายถึง ญาติพี่น้องข้างเคียง (collateral relatives)ทั้งในรุ่นถัดไปข้างหน้าและรุ่นย้อนกลับไปซึ่งได้แก่ พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา หลาน เป็นต้น
ตัวอย่าง:กำหนดให้น้ำหนักแรกเกิดเฉลี่ยของสุกรฝูงหนึ่งเท่ากับ 1.2 กก. จงคำนวณคุณค่าการผสมพันธุ์ของสุกรตัวหนึ่งที่มีข้อมูลบันทึกน้ำหนักแรกเกิดของพี่น้องจำนวน 6 ตัวซึ่งเกิดจากพ่อแม่เดียวกันมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.6 กก. กำหนดให้ค่าอัตราพันธุกรรมมีเท่ากับ 0.2, ค่าอัตราซ้ำเท่ากับ 0.3 และ ค่าความสัมพันธ์ทางสายเลือดระหว่างพี่น้องเท่ากับ 0.5 EBV = = 1.30กก.
ตัวอย่าง:และหากสุกรตัวนี้มีน้ำหนักแรกเกิด 2.1กก. จงคำนวณคุณค่าการผสมพันธุ์จากบันทึกข้อมูลของพี่น้องรวมทั้งบันทึกข้อมูลของตัวเอง ค่าเฉลี่ยบันทึก= = 1.67 สังเกตว่าการใช้ข้อมูลพี่น้องเพียงอย่างเดียว (EBV = 1.30) มีค่าต่ำกว่าการใช้ข้อมูลร่วมหลายแหล่ง EBV = = 1.32กก.
2.Half sib สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ 1.Full sib กรณีที่ 1: มีข้อมูลลูกเพียงบันทึกเดียว • กรณีที่ 2: มีข้อมูลลูกหลายบันทึก การประเมินค่าการผสมพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากลูก • การประเมินโดยใช้ข้อมูลของลูกเป็นวิธีที่ใช้กันแพร่หลาย • โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประเมินเพื่อคัดเลือกพ่อพันธุ์
ตัวอย่าง :จงประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ของพ่อพันธุ์โคพันธุ์บราห์มันตัวหนึ่งซึ่งให้ลูกจำนวน 60 ตัว โดยมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักหย่านมของลูกเฉลี่ยเท่ากับ 190 กก. กำหนดให้น้ำหนักหย่านมเฉลี่ยของฝูงมีค่า 175 กก. และค่าอัตราพันธุกรรมมีค่า 0.4 EBV = = 189.20 กก.
ข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆ
ข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆ
แนวทางการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าแนวทางการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่า • การผสมพันธุ์แบบต่างๆการคัดเลือกพันธุ์สัตว์
ข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆ
ตัวอย่างค่าการผสมพันธุ์ตัวอย่างค่าการผสมพันธุ์