200 likes | 498 Views
บัณฑิตที่พึงประสงค์. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
E N D
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข • จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆอย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ทุกวิชา
เก่ง สถาบันการศึกษา บัณฑิต ดี มีสุข
การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย • พ.ศ.2534 ก่อตัว“โครงการบัณฑิตอุดมคติ” • พ.ศ.2535 เริ่มเปิดสอนวิชาบัณฑิตอุดมคติ • พ.ศ.2538 สภามหาวิทยาลัยให้จัดการปฏิรูปการศึกษาทั่วไป ให้หยั่งรากลึกและเข้าถึงปรัชญาการศึกษาทั่วไป • พ.ศ.2540 ให้ “โครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย”เป็นโครงการตามมติคณะรัฐมนตรี
โครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย • กระตุ้นให้เกิดจิตสำนึกในการสร้างบัณฑิตให้มีความรู้จริงและรอบรู้ในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ควบคู่กับการมีคุณธรรม/จริยธรรม เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพและเป็นที่พึงประสงค์ตามความต้องการของสังคม
บัณฑิตอุดมคติที่พึงประสงค์ตามวิสัยทัศน์ของการพัฒนานักศึกษาในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่9 คือ บัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม มีสติปัญญา ใฝ่การเรียนรู้ นึกคิดอย่างเป็นระบบ มีจิตสำนึก และศักยภาพในการสร้างงาน บุคลิกภาพดี มีความเป็นผู้นำ ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย มีวินัย รับผิดชอบต่อตนเองและเอื้ออาทรต่อสังคม ตระหนักในคุณค่าทรัพยากรและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สุขภาพดี และมีความเป็นสากล
รูปแบบการสร้างบัณฑิตอุดมคติไทยรูปแบบการสร้างบัณฑิตอุดมคติไทย • การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอน • การสร้างกระบวนวิชาที่เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม • การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษา
ปณิธานของมหาวิทยาลัย ...บัณฑิตแห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พึงฝักใฝ่ในการฝึกตน เป็นผู้รู้จริง คิดเป็น ปฏิบัติได้ สามารถครองตน ครองคน ครองงาน ด้วยมโนธรรมและจิตสำนึกต่อสังคม
คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย • มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการและวิชาชีพ • มีทักษะในการเรียนรู้ การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ • มีทักษะทางภาษา สามารถในการติดต่อสื่อสาร และถ่ายทอดความรู้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 ภาษา • มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล และใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย • ใฝ่รู้ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง และสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต • รู้จักตนเอง มีมนุษยสัมพันธ์ ปรับตนเองเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ • มีภาวะผู้นำ • มีคุณธรรม จริยธรรม • มีความรับผิดชอบต่อสังคม
บทบาทของสถานศึกษาในการสร้างบัณฑิตอุดมคติบทบาทของสถานศึกษาในการสร้างบัณฑิตอุดมคติ • ส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ • ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษา • สร้างสรรค์องค์ความรู้ในด้านการพัฒนานักศึกษาหรือเอื้อต่อการพัฒนานักศึกษา
The 9th Asia Pacific Student Services Association (APSSA) ConferenceJuly 6-9, 2004 • The 21th century – an era of knowledge based economy • Education is important to sustain development Life-Long Learning
Life-Long Learning Definition: • From birth to death education • Formal, non-formal and informal education for a highly skilled work force; personal development, creation
Role of Universities • develop of lifelong learning • review strategies and policies • concern with extending knowledge and handling and applying knowledge for community. • strengthen staff and faculty to continue professional development • extend commitment on own tradition and extra curriculum
คณาจารย์ควรมีบทบาทในการชี้นำและเป็นต้นแบบที่ดีเพื่อให้นักศึกษาได้ประพฤติปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ได้รับคณาจารย์ควรมีบทบาทในการชี้นำและเป็นต้นแบบที่ดีเพื่อให้นักศึกษาได้ประพฤติปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ได้รับ งานผลิตบัณฑิต เป็นงานที่ไม่เพียงแต่พัฒนาหรือท้าทายความสามารถของคณาจารย์เท่านั้น แต่ยังเป็นงานที่สร้างความภาคภูมิใจให้กับวิชาชีพของการเป็นอาจารย์ได้อย่างแท้จริง
A seed left in the field will grow wild if uncultivated.