440 likes | 668 Views
การเข้าสู่เขตเศรษฐกิจเสรีอาเซียน. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภเรณู สัจจรักษ์ ธีระฐิติ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. เนื้อหาการบรรยาย. 1. ที่มาของประชาคมอาเซียนและเขตเศรษฐกิจอาเซียน 2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) 2.1 การบูรณาการด้านเศรษฐกิจ
E N D
การเข้าสู่เขตเศรษฐกิจเสรีอาเซียนการเข้าสู่เขตเศรษฐกิจเสรีอาเซียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภเรณู สัจจรักษ์ ธีระฐิติ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
เนื้อหาการบรรยาย • 1. ที่มาของประชาคมอาเซียนและเขตเศรษฐกิจอาเซียน • 2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) • 2.1 การบูรณาการด้านเศรษฐกิจ • 2.2 หลักของการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.3 ความสำคัญของการพัฒนาที่เท่าเทียมกัน • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.5 ความก้าวหน้าของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก • 3.2 ผลกระทบด้านลบ
1. ที่มาของสมาคมอาเซียนและเขตเศรษฐกิจอาเซียน
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.1 การบูรณาการทางด้านเศรษฐกิจ EU NAFTA GCC AFTA MERCOSUR SACU CER
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.1 การบูรณาการทางด้านเศรษฐกิจ EUROPE • ก่อนสงครามโลก:แนวคิดในการก่อตั้ง “สหรัฐยุโรป” (United States of Europe) โดย Victor Hugo • หลังสงครามโลกครั้งที่ 2:แนวคิดในการยุติปัญหาความขัดแย้งอย่างถาวร โดยผู้นำ 4 ประเทศ และนำไปสู่การก่อตั้ง “ประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป” (European Coal and Steel Community – 1950)
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1950 การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (ECSC) (6 ประเทศ) 1957การขยายตลาดร่วมและการก่อตั้งประชาคมยุโรป (European Community) 1973การขยายตัวครั้งแรกของประชาคมยุโรป (9 ประเทศ) และ การก่อตั้ง European Regional Development Fund 1979 การเลือกตั้งสภายุโรป (European Parliament) ครั้งแรก 1981 การขยายตัวไปสู่ยุโรปใต้ (12 ประเทศ) 1993 การบูรณาการเป็นตลาดเดียว (single market) และการ ก่อตั้งสหภาพยุโรป (European Union) 1995การขยายตัวสู่ยุโรปเหนือ (15 ประเทศ) 1997 การเปิดรับยุโรปตะวันออกและประเทศที่เป็นอดีตสหภาพ โซเวียต 1999 การนำเงินยูโรมาใช้ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นครั้งแรก 2000 การสร้างฐานเศรษฐกิจสมัยใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์ลิสบอน 2002สกุลเงินยูโรถูกนำมาใช้อย่างเต็มรูปแบบ ในเขต Euro Zone 12 ประเทศ 2004 การขยายตัวสู่ยุโรปตะวันออก (25 ประเทศ) EUROPE
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.1 การบูรณาการทางด้านเศรษฐกิจ EUROPE
2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.1 การบูรณาการทางด้านเศรษฐกิจ ASEAN
2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.2 หลักการของการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.3 ความสำคัญของการพัฒนาที่เท่าเทียมกัน
2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี (free flow of goods) การกำหนดมาตรฐานทางเทคนิค การประกันคุณภาพและการยอมรับคุณสมบัติซึ่งกันและกันในสาขาต่างๆ (MRAs) การสร้างตลาดเดียวสำหรับสินค้าและบริการ การดำเนินมาตรการเอื้อต่อการค้า (trade facilitation) เช่น การบูรณาการกระบวนการด้านศุลกากร และการใช้ ASEAN Single Window การใช้ AFTA เป็นเครื่องมือในการยกเลิกกำแพงภาษี (elimination of tariffs) การพัฒนากรอบการดำเนินการลดภาษีในเขตการค้าเสรี (CEPT) และมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี (non-tariff barriers) การใช้หลักการ Rules of Origin (ROO)
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี (free flow of goods) ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี (free flow of goods) ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การเคลื่อนย้ายบริการเสรี (free flow of services) การสร้างตลาดเดียวสำหรับสินค้าและบริการ การเปิดเสรีในภาคการเงินเพื่อสร้างเสถียรภาพทางการเงินในภูมิภาค (financial service liberalisation) การส่งเสริมการเคลื่อนย้ายทุนมนุษย์เสรี โดยผ่านการยอมรับคุณลักษณะวิชาชีพที่กำหนดไว้ใน MRAs
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การเคลื่อนย้ายบริการเสรี (free flow of services) • ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS) • ธุรกิจ • บริการวิชาชีพ • การก่อสร้าง • การขนส่งจัดจำหน่าย • การศึกษา • บริการสิ่งแลดล้อม • การคมนาคมขนส่งทางน้ำ • การสื่อสาร • การท่องเที่ยว
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การลงทุนเสรี (free flow of investment) ความร่วมมือภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนร่วม (AIA – 1998) การสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขันของภูมิภาค • การพัฒนา ASEAN Comprehensive Investment Agreement (ACIA) เข้ามาแทนที่ IGA : มุ่งเน้น • การปกป้องการลงทุน • การส่งเสริมความร่วมมือ • การสร้างจิตสำนึกร่วม • การเปิดเสรีในการลงทุน กรอบการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน (ASEAN Investment Guarantee Agreement – IGA)
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การลงทุนเสรี (free flow of investment) ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือเสรี (free flow of skilled labour) การสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขันของภูมิภาค การสนับสนุนการเคลื่อนย้ายทุนมนษุย์ตั้งแต่ระดับอุดมศึกษาผ่านเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network) การบูรณาการเรื่องนโยบายคนเข้าเมืองและการเคลื่อนย้ายถิ่น
2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน A. การสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วม • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือเสรี (free flow of skilled labour) • ข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) ในคุณสมบัตินักวิชาชีพของอาเซียน • วิศวกรรม • การพยาบาล • สถาปัตยกรรม • การสำรวจ • แพทย์ • ทันตแพทย์ • การบัญชี • การท่องเที่ยว
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน B. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมิภาค • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • นโยบายการแข่งขัน (competition policy) การสร้างวัฒนธรรมการแข่งขันอย่างยุติธรรม การกำหนดนโยบายด้านการแข่งขันทางการค้าอย่างยุติธรรม และสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการแข่งขันทางการค้า การส่งเสริมกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพในประเทศสมาชิกเพื่อจุดมุ่งหมายในการพัฒนานโยบายด้านการแข่งขันที่เป็นรูปธรรม
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน B. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมิภาค • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การคุ้มครองผู้บริโภค (consumer protection) การจัดฝึกอบรมตัวแทนกลุ่มผู้บริโภคเพื่อให้เกิดการเตรียมพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การให้ความสำคัญกับ “มนุษย์เป็นศูนย์กลาง การสร้างเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค การตั้งคณะกรรมการในระดับภูมิภาคเพื่อประสานงานในเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภค
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน B. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมิภาค • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา (intellectual property rights) การใช้แผน ASEAN IPR Action Plan (2004-2010) เพื่อสร้างและคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมแห่งการคิดเชิงสร้างสรรค์ การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่ดูแลและปราบปรามการละเมิดสิทธิทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาระบบการเก็บข้อมูลสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ (filing system for design) และส่งเสริมการแบ่งปันข้อมูลระหว่างสำนักทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศสมาชิก
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน B. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมิภาค • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure development) ความร่วมมือด้านการคมนาคม ผ่านการสร้างเครือข่ายการคมนาคมที่สะดวก ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมความเป็นตลาดและแหล่งการผลิตเดียว การพัฒนาความร่วมมือด้านพลังงาน ด้านทรัพยากรธรรมชาติและการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนโครงการสาธารณูปโภคต่างๆ ความร่วมมือด้านการคมนาคมทางน้ำและ ทางอากาศ การพัฒนาฐานข้อมูลร่วมกันผ่านระบบสารสนเทศและเครื่อข่ายที่มีอยู่เดิม
2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน2.การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน B. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมิภาค • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • นโยบายภาษี (taxation) การเพิ่มความคล่องตัวในการผลิตและการค้า การลดกำแพงภาษีและที่ไม่ใช่ภาษี การดำเนินการเร่งรัดอนุสัญญาภาษีซ้อน
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน B. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมิภาค • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การส่งเสริมพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ (e-ASEAN) การเพิ่มความคล่องตัวในการผลิตและการค้า การพัฒนากรอบข้อตกลงเรื่องพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ในอาเซียน การดำเนินนโยบายเพื่อและสาธารณูปโภคเพื่อการพาณิชย์อเลคทรอนิกส์
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน C. การสร้างความเสมอภาคในการพัฒนาเศรษฐกิจ • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การลดช่องว่างในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การบูรณาการด้านการพัฒนาที่เน้นความร่วมมือและความเท่าเทียม • การลดช่องว่างของการพัฒนาภายใต้กรอบ Initiative for ASEAN Integration (IAI – 2000) ซึ่งมุ่งเน้นด้าน: • สาธารณูปโภค • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การพัฒนาระบบสารสนเทศ • การสร้างศักยภาพเพื่อการบูรณาการทางเศรษฐกิจ • การลงทุนด้านการท่องเที่ยว พลังงานและการลดปัญหาความยากจน การส่งเสริมให้ประเทศ CLMV ดำเนินนโยบายที่เอื้อต่อการส่งเสริมความเติบโตทางเศรษฐกิจ เพิ่มการลงทุนจากทั้งภายในและภายนอกประเทศและการสนับสนุนการลงทุนจากภาคเอกชน
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน C. การสร้างความเสมอภาคในการพัฒนาเศรษฐกิจ • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME development) การบูรณาการด้านการพัฒนาที่เน้นความร่วมมือและความเท่าเทียม ส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันโดยการเน้นการเข้าถึงข้อมูล ตลาด ทรัพยากรมนุษย์ เงินทุนและเทคโนโลยีที่มีอยู่ในอาเซียน การพัฒนา ส่งเสริมและสร้างความหลากหลายในธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก วางเป้าหมายให้ SMEs เป็นตัวจักรสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจผ่านการดำเนินนโยบายที่เหมาะสม
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน D. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การประสานนโยบายทางเศรษฐกิจ (coherent economic approach) การให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางในการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศ การพัฒนาระบบความร่วมมือในเชิงนโยบายด้านต่างๆทางเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการต่อรองกับประเทศภายนอกอาเซียน การให้ความสำคัญกับข้อตกลงเรื่องเขตการค้าเสรี (FTAs) และข้อตกลงการเป็นพันธมิตรทางการค้า (CEPs)
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน D. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การประสานนโยบายทางเศรษฐกิจ (coherent economic approach) การให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางในการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศ การพัฒนาระบบความร่วมมือในเชิงนโยบายด้านต่างๆทางเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการต่อรองกับประเทศภายนอกอาเซียน การให้ความสำคัญกับข้อตกลงเรื่องเขตการค้าเสรี (FTAs) และข้อตกลงการเป็นพันธมิตรทางการค้า (CEPs)
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน D. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • สร้างเครือข่ายการผลิตและจำหน่าย (participation in global supply network) การให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางในการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศ การช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและเทคนิคต่างๆกับประเทศ CLMV เพื่อให้การผลิตและการจำหน่ายสินค้าของประเทศในกลุ่มอาเซียนมีมาตรฐานที่เชื่อถือได้ การนำเอาวิธีปฏิบัติที่ดี (best practices)และมาตรฐานการผลิตและจำหน่ายที่ใช้กันเป็นสากลมาปรับใช้กับอาเซียน
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน D. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • 2.4 พิมพ์เขียวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การจัดทำ FTA กับประเทศคู่ค้านอกอาเซียน ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2. การมุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 2.5 ความก้าวหน้าของการก้าวเข้าสู่ AEC • จนกว่าจะถึง 2558 ที่มา: ASEAN Economic Community Scorecard, ASEAN Secretariat
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก ASEAN-Japan AEC ส่งไปแปรรูปที่กัมพูชา ASEAN-Korea ยางพาราจากประเทศไทย ฐานการผลิตร่วม และการใช้ประโยชน์จากการสะสมถิ่นกำเนิดสินค้า ASEAN-China ผ้าลวดลายต่างๆจากมาเลเซียและฟิลิปปินส์ ตัดเย็บที่เวียดนาม ASEAN-Australia/New Zealand ASEAN-India ASEAN-EU
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.1 ผลกระทบด้านบวก
3. ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • 3.2 ผลกระทบด้านลบ