1 / 28

ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ

ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ. General Agreement on Trade in Services : GATS. GATS. คือกฎเกณฑ์ที่ใช้กำกับดูแลการค้า บริการระหว่างประเทศสมาชิก WTO เริ่มมีผลบังคับ 1 มกราคม 2538. วัตถุประสงค์ของ GATS. เพื่อให้การค้าบริการระหว่างประเทศ

fairly
Download Presentation

ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ General Agreement on Trade in Services :GATS กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  2. GATS • คือกฎเกณฑ์ที่ใช้กำกับดูแลการค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิก WTO • เริ่มมีผลบังคับ 1 มกราคม 2538 กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  3. วัตถุประสงค์ของGATS เพื่อให้การค้าบริการระหว่างประเทศ มีการขยายตัวภายใต้เงื่อนไขของความโปร่งใสและการเปิดเสรีแบบก้าวหน้าเป็นลำดับ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  4. ขอบเขตของ GATS • กำหนดหลักการให้รัฐบาลของประเทศสมาชิกถือปฏิบัติ • กำหนดให้มีการเจรจายื่นข้อเสนอการเปิดตลาดระหว่างกัน กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  5. ประเภทการค้าบริการ 12 สาขา • บริการด้านธุรกิจ/วิชาชีพ • บริการด้านสื่อสารคมนาคม • บริการด้านการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง • บริการด้านการจัดจำหน่าย • บริการด้านการศึกษา • บริการด้านสิ่งแวดล้อม กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  6. ประเภทการค้าบริการ(ต่อ)ประเภทการค้าบริการ(ต่อ) • บริการด้านการเงิน • บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม • บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง • บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา • บริการด้านการขนส่ง • บริการอื่นๆ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  7. รูปแบบการค้าบริการ ( Mode of Supply ) • Mode 1 : การขายบริการข้ามพรมแดน(Cross-border Supply ) • Mode 2 : บุคคลหรือทรัพย์สินเข้าไปใช้บริการในประเทศอื่น( Consumption Abroad) • Mode 3 : ผู้ให้บริการต่างชาติเข้ามาจัดตั้งธุรกิจให้บริการ(Commercial Presence) • Mode 4 : บุคลากรต่างชาติเข้ามาให้บริการในประเทศ(Presence of Natural Persons) กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  8. Mode of SupplyCross Border Supply- Mode 1 บริการข้ามพรมแดนผ่านสื่อไปอีกประเทศ ผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  9. Mode of SupplyConsumption Abroad - Mode 2 ผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ ผู้รับบริการไปใช้บริการ ในต่างประเทศ ผู้รับบริการ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  10. Mode of SupplyCommercial Presence - Mode 3 ผู้ให้บริการ การจัดตั้งหน่วยธุรกิจเพื่อ ให้บริการในต่างประเทศ ผู้รับบริการ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  11. Mode of SupplyPresence of Natural Persons - Mode 4 บุคคลธรรมดาไปทำงานในต่างประเทศ ผู้รับบริการ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  12. พันธกรณีของประเทศสมาชิกพันธกรณีของประเทศสมาชิก • พันธกรณีทั่วไป • พันธกรณีเฉพาะ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  13. พันธกรณีทั่วไป • ไม่เลือกปฏิบัติระหว่างสมาชิก หรือ MFN • แจ้งให้ WTO ทราบเมื่อมีการปรับปรุงมาตรการด้านบริการ • พัฒนาบทบัญญัติบางข้อภายใต้ GATS - หลักเกณฑ์ (disciplines) พหุภาคีในการใช้กฎระเบียบภายในเกี่ยวกับการออกใบอนุญาต - กฎเกณฑ์ของ GATS : ESM, Subsidy, และ Gov’t Procurement • เข้าร่วมเจรจาเปิดตลาดทุกๆ 5 ปี กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  14. Most-Favoured-Nation Treatment : MFN(การประติบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง) • ต้องปฏิบัติต่อสมาชิกอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่มีเงื่อนไข • ขอยกเว้นไม่ปฏิบัติตามได้ชั่วคราว (10ปี) กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  15. ความโปร่งใส (Transparency) • ต้องเปิดเผย มาตรการที่บังคับใช้ต่อการค้าบริการ • ต้องจัดตั้ง enquiry point ภายใน 2 ปี • ต้องแจ้ง WTO เมื่อมีการปรับปรุง/ออกมาตรการที่มี ผลกระทบต่อการค้าบริการ = ในสาขาที่ผูกพัน กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  16. กฎระเบียบภายใน (Domestic Regulation) • ใช้มาตรการอย่างมีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ และไม่ลำเอียง • การออกใบอนุญาต คุณสมบัติ และมาตรฐานทางเทคนิค ต้อง มีหลักเกณฑ์ที่โปร่งใส ไม่สร้างภาระเกินจำเป็น และไม่กีดกัน การให้บริการ • จัดตั้งอนุญาโตตุลาการ หรือศาลพิเศษในทางปกครอง • ให้สมาชิกร่วมกันจัดทำหลักเกณฑ์สำหรับการออก/ใช้ กฎระเบียบภายในประเทศ • = ในสาขาที่ผูกพัน กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  17. การเปิดเสรีแบบก้าวหน้าตามลำดับ (Progressive Liberalization) ต้องเข้าร่วมเจรจาจัดทำข้อผูกพันการเปิดตลาดสาขาต่างๆเพิ่มมากขึ้น ภายในเวลาไม่เกิน 5 ปี หลังจากความตกลง WTOมีผลใช้บังคับ (ภายในปี 2543) กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  18. พันธกรณีเฉพาะ ต้องไม่ออกกฎหมายใหม่หรือปรับปรุงกฎหมายเดิมที่มีผลทำให้บริการที่ผูกพันไว้มีเงื่อนไขเพิ่มขึ้นจากที่ระบุไว้ในข้อผูกพันเฉพาะ = ในสาขาที่ผูกพัน กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  19. ข้อผูกพันเฉพาะ • บริการใด ที่สามารถเปิดตลาดได้ให้ระบุไว้ใน ตารางข้อผูกพันเฉพาะ พร้อมเงื่อนไขในการเปิดตลาด และการประติบัติเยี่ยงคนชาติ • ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในตารางข้อผูกพัน = ในสาขาที่ผูกพัน กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  20. สาระข้อผูกพันการเปิดตลาดสาระข้อผูกพันการเปิดตลาด • สาขาบริการ/สาขาย่อยที่ผูกพัน • เงื่อนไขการเข้าสู่ตลาด(Market Access) • เงื่อนไขการประติบัติเยี่ยงคนชาติ(National Treatment) • ข้อผูกพันเพิ่มเติม (ถ้ามี) กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  21. เงื่อนไขในการเข้าสู่ตลาด (market access) • จำนวนผู้ให้บริการ • มูลค่าการค้าขายบริการ • จำนวนหรือปริมาณการให้บริการ • จำนวนบุคลากรในหน่วยธุรกิจ • ประเภทของหน่วยธุรกิจที่ให้บริการ • สัดส่วนการถือหุ้น กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  22. การประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment) การปฏิบัติต่อบริการและผู้ให้บริการต่างชาติไม่ด้อยกว่า การปฏิบัติต่อบริการและผู้ให้บริการที่เป็นคนชาติ = ในสาขาที่ผูกพัน กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  23. ระดับการผูกพันการเปิดตลาดระดับการผูกพันการเปิดตลาด • ผูกพันเต็มที่ (ระบุในข้อผูกพันว่า “None” = no limitation) • ผูกพันโดยมีเงื่อนไข • ไม่ผูกพัน (ระบุในข้อผูกพันว่า “Unbound”) กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  24. บริการธุรกิจ การก่อสร้าง การจัดจำหน่าย การเงิน บริการด้านสิ่งแวดล้อม การสื่อสารคมนาคม การศึกษา นันทนาการ วัฒนธรรม และกีฬา การท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง การขนส่ง สาขาบริการที่ไทยจัดทำข้อผูกพันใน WTO * ยังไม่ได้ผูกพัน สาขาบริการด้านสุขภาพและสังคม และบริการด้านอื่น ๆ กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  25. เงื่อนไขการเปิดตลาดของไทยในรอบอุรุกวัยเงื่อนไขการเปิดตลาดของไทยในรอบอุรุกวัย • ไม่ผูกพันการให้บริการข้ามพรมแดน (Unbound) • ไม่มีข้อจำกัดสำหรับการออกไปใช้บริการในต่างประเทศ(None) • ต่างชาติเข้ามาจัดตั้งหน่วยธุรกิจให้บริการ ต้องเป็นบริษัทจดทะเบียนในไทย ต่างชาติถือหุ้นไม่เกิน 49 % และจำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติ ไม่เกินกึ่งหนึ่ง • ให้คนต่างชาติเข้ามาทำงานได้ชั่วคราวเฉพาะการโอนย้ายพนักงาน ระดับผู้บริหาร ผู้จัดการ และผู้เชี่ยวชาญ เป็นเวลาไม่เกิน 3 ปี ไม่ผูกพันวิชาชีพสงวน กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  26. การเจรจาการค้าบริการรอบใหม่การเจรจาการค้าบริการรอบใหม่ ช่วงที่ 1 (กุมภาพันธ์ 2543 - มีนาคม 2544) จัดทำแนวทางและวิธีการในการเจรจา ช่วงที่ 2 (มีนาคม 2544 - มีนาคม 2545) พิจารณาข้อเสนอการเจรจารายสาขา (Negotiating Proposals) ช่วงที่ 3 (มีนาคม 2545 - มีนาคม 2546) • การจัดทำ request /offers • ยื่นข้อเรียกร้องเบื้องต้น (initial request)30มิถุนายน 2545 • ยื่นข้อเสนอเบ้องต้น (initial offers)31 มีนาคม 2546 กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  27. ผลการประชุมรัฐมนตรีองค์การการค้าโลกครั้งที่ 4 เกี่ยวกับการเจรจาการค้าบริการ • ยื่น initial requestตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2545 • ยื่น initial offersตั้งแต่ 31 มีนาคม 2546 • การเจรจาสิ้นสุด ภายใน 1 มกราคม 2548 กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

  28. การเจรจาเปิดตลาดในเวทีอื่นๆการเจรจาเปิดตลาดในเวทีอื่นๆ การเจรจาที่ผ่านมากำลังเจรจา อาเซียน 2539-2544 2545-สิ้นปี 2547 FTA - ไทย-บาห์เรน ไทย-ออสเตรเลีย ไทย-ญี่ปุ่น อาเซียน-จีน ASEAN-CER อาเซียน-ญี่ปุ่น กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์

More Related