1 / 70

ทิศทางอาชีวศึกษาเอกชน

ทิศทางอาชีวศึกษาเอกชน. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 5 ตุลาคม 2550 ที่โรงแรม จังหวัดภูเก็ต. สาระ. 1. ข้อมูลสถานการณ์การศึกษาเอกชนและการอาชีวศึกษาเอกชน 2. สถานการณ์และแนวทางการพัฒนาอุดมศึกษาไทยเพื่อเชื่อมโยงกับการอาชีวศึกษา 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาอาชีวศึกษาของสอศ.

Download Presentation

ทิศทางอาชีวศึกษาเอกชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางอาชีวศึกษาเอกชนทิศทางอาชีวศึกษาเอกชน โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 5 ตุลาคม 2550 ที่โรงแรม จังหวัดภูเก็ต

  2. สาระ 1. ข้อมูลสถานการณ์การศึกษาเอกชนและการอาชีวศึกษาเอกชน 2. สถานการณ์และแนวทางการพัฒนาอุดมศึกษาไทยเพื่อเชื่อมโยงกับการอาชีวศึกษา 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาอาชีวศึกษาของสอศ. 4. ใช้ต้นแบบสถาบันจากต่างประเทศ 5. ทิศทางโลกแรงงานและการศึกษา 6. ข้อเสนอแนะสำหรับการอาชีวศึกษาเอกชน

  3. จำนวนนักศึกษาอาชีวศึกษาปีการศึกษา2549(ข้อมูลณ28กพ.2550)จำนวนนักศึกษาอาชีวศึกษาปีการศึกษา2549(ข้อมูลณ28กพ.2550) อนุบาล 1,622,282ปวช 1 327,399ปริญญาตรีปี1 741,755 คน ประถม 5,152,932ปวช 2 228,712ป ตรีปี2-4 1,511,346 มต้น 2,646,148ปวช 3 200,914ป บัณฑิต 7,850 มปลาย1,832,925ปวส 1 204,629ป บัณฑิตขั้นสูง 907 ปวส 2 200,553ป โท 180,270 ปวส 3 6,211ป เอก 13,921 • ปี2550 สอศ.รายงาน ปวส.เข้าใหม่ ลดลง10,000คน • ม.ปลายสายสามัญ1.8ล้านต่อสายอาชีพ560,000คน

  4. จำนวนสถานศึกษานักเรียนและครูเอกชน ปีการศึกษา2549

  5. สรุปผลประเมินสถานศึกษาสังกัดสช.ระดับขั้นพื้นฐานรอบแรกโดยสมศ.ปี2543-2548จำนวน2,724แห่งสรุปผลประเมินสถานศึกษาสังกัดสช.ระดับขั้นพื้นฐานรอบแรกโดยสมศ.ปี2543-2548จำนวน2,724แห่ง • ประเภทโรงเรียน ระดับคุณภาพ (จำนวนโรง) ดี พอใช้ ปรับปรุง รวม 1.ประเภทสามัญ 1,232 1,179 50 2,461 2.ใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอน 61 7 - 68 3. เพื่อคนพิการ 3 1 1 5 4.ศึกษาสงเคราะห์ 1 5 - 6 5. อิสลาม 8 169 17 194 รวม 1,305 1,361 68 2,734

  6. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-Net)ชั้นม.6หรือเทียบเท่า ปีการศึกษา2549ของสช. • วิชา คะแนนเฉลี่ย สช. คะแนนเฉลี่ยประเทศ • ภาษาไทย 50.43 50.33 • สังคมศึกษา 38.65 37.94 • ภาษาอังกฤษ 35.95 32.37 • คณิตศาสตร์ 30.76 29.56 • วิทยาศาสตร์ 35.20 34.44 **สรุปนักเรียนสช.คุณภาพดีกว่าเกณฑ์เฉลี่ยทั้งประเทศและเข้มแข็งมากในวิชาภาษาอังกฤษ

  7. สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน (1ตุลาคม2549 - 31 พฤษภาคม 2550) ด้านการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1.อุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัวแก่นักเรียน ร.ร.เอกชน1,968,274 คน2. จัดสรรสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน 2,800 โรง3. อุดหนุนอาหารเสริม(นม)ให้แก่นักเรียนร.ร.เอกชน75,620คน 4. จัดเงินอุดหนุนโครงการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน โรงเรียนเอกชน 315,180 คน5. ให้การอุดหนุนศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 1,632 แห่ง 6. พัฒนาผู้บริหาร ครูและนักเรียนโรงเรียนเอกชน 30,000 คน

  8. ปี2550 14,358ล้านบาท งบบุคลากร 96.5 ล้านบาท งบดำเนินงาน 50.7 ค่าสาธารณูปโภค 2.9 งบอุดหนุน 14,211 ปี2551 14,752ล้านบาท งบบุคลากร 96.8 ล้าน งบดำเนินงาน 65.4 ค่าสาธารณูปโภค 2.9 งบอุดหนุน 14,590 งบประมาณสช. 2550-2551เพิ่ม394ล้านบาทหรือ2.74%

  9. แผนงานสช.ปีงบประมาณ2551 • 1.อุดหนุนการศึกษาพื้นฐานอนุบาล/ม.6 จำนวน1,968,274คนงบ 13,588,300บาท จำนวนโรงเรียน8,489โรง นักเรียน1,978,115คน • 2.จัดสรรสื่อ2,800โรง10,753,200บาท • 3.จัดสรรอุดหนุนค่าก่อสร้างโรงเรียนการกุศล20โรง 50ล้านบาท • 4.อุดหนุนอาหารเสริมนม นร.รร.การกุศล อนุบาล1-ป.4 77,890 คน 89.5ล้านบาท • 5.อุดหนุนอาหารกลางวันนร.รร.การกุศลและประสบปัญหาทุพโภชนาการอนุบาล1-ป.6 324,635คน 649ล้านบาท • 6.อุดหนุนตาดีกา 1,632แห่ง 162ล้านบาท • 7.งบสัมมนาฝึกอบรมพัฒนาคุณภาพ45ล้านบาท

  10. ครม.อนุมัติ26มิย.2550ต้องขอแปรญัตติเพิ่มเติมงบ2551ครม.อนุมัติ26มิย.2550ต้องขอแปรญัตติเพิ่มเติมงบ2551 • 1.ปรับเพิ่มเงินเดือนครูในอัตราเดียวกับการปรับเพิ่มของข้าราชการ ใน1ตุลาคม2550รัฐจะปรับเพิ่ม4%จ่ายอัตราก่อนประถม-ประถม161บาทต่อปี ม1-6และปวช. 202บาทต่อปี งบ345ล้านบาท • 2.อุดหนุนปอเนาะ รร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม มาตรา15(2)และครูสอนศาสนาในรร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม มาตรา15(1)ในอัตราเดียวกับตาดีกา • จ่ายให้ครูรร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม มาตรา15(2) 107แห่งจำนวน13ล้านบาท จ่ายให้ครูสอนศาสนา รร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม มาตรา15(1)143แห่งจำนวน18ล้านบาท • 3.อุดหนุนเพิ่มให้โรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีเด็กไม่เกิน120คนรวมเวลา3ปีชั้นอนุบาล2-ป.6คนละ500บาทต่อปี ม1-6และปวช.คนละ1000บาทต่อปี จำนวน26ล้านบาทต่อปี

  11. ศึกษาแนวพัฒนาการอุดมศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงกับการอาชีวศึกษาศึกษาแนวพัฒนาการอุดมศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงกับการอาชีวศึกษา • 1. สัมมนาอธิการบดี 8ธันวาคม2548เรื่องกรอบแนวคิดเชิงนโยบายอุดมศึกษา 8 ประเด็น • 2. ข้อเสนอการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ปี(พ.ศ. 2550-2564) ประชุมอธการเมื่อกรกฎาคม2550 • 3. มติชน ร่วมกับ สกอ.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดประเด็นเชิงนโยบาย สำหรับจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม2550

  12. สกอ. นำเสนอกรอบแนวคิดเชิงนโยบายอุดมศึกษา 8 ประเด็น (ข้อมูล8ธันวาคม2548) • 1) การผลิตและพัฒนากำลังคน • 2) คุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษา • 3) การวิจัยและพัฒนา • 4) การพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา • 5) การปฏิรูปการเงินอุดมศึกษา • 6) โครงสร้างและการบริหารจัดการ • 7) การผลิตและพัฒนาครู • 8) การมีส่วนร่วมของเอกชนในการจัดการการศึกษา

  13. ข้อเสนอกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล8ธันวาคม2548)ข้อเสนอกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล8ธันวาคม2548) • 1. ต้องจัดลำดับความสำคัญของงาน และดำเนินการในเรื่องที่จำเป็นเร่งด่วนก่อน โดยพัฒนาอาจารย์เป็นลำดับแรก ถ้าอาจารย์เก่ง ดี และมีปริมาณเพียงพอจะทำให้ด้านอื่นๆ มีคุณภาพตามไปด้วย • 2. ปรับบทบาทสกอ.ให้สามารถทำหน้าที่การกำกับเชิงนโยบายและจัดสรรงบประมาณให้สถาบันอุดมศึกษา • 3. มหาวิทยาลัยต้องเร่งรัดปรับปรุงคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาต่างๆ ที่เป็นความต้องการของประเทศให้มีคุณภาพทัดเทียมระดับนานาชาติ รวมทั้งปรับปรุงมาตรฐานหลักสูตรและการเรียนการสอนที่สนับสนุนต่อการสร้างคุณลักษณะให้เด็กคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์เป็น

  14. ข้อเสนอกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล8ธันวาคม2548)ข้อเสนอกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล8ธันวาคม2548) • 4. มหาวิทยาลัยในฐานะที่เป็นองค์กรที่สำคัญของสังคม ต้องมีบทบาทในการนำประเทศ • 4.1 พัฒนาคนให้เป็นมันสมองของชาติ เพื่อสร้างองค์ความรู้และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ • 4.2สร้างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพในระดับกลางและระดับสูงของประเทศ • 4.3ให้การศึกษาเพื่อสร้างอาชีพ และเป็นคนดีมีคุณภาพของประเทศ

  15. ข้อเสนอกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล8ธันวาคม2548)ข้อเสนอกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล8ธันวาคม2548) • 5. รัฐต้องสนับสนุนงบประมาณด้านการอุดมศึกษาให้เพียงพอกับการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัย และการแข่งขันในระดับนานาชาติได้ • 6. ต้องส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อท้องถิ่นอย่างแท้จริง • 7.ต้องสร้างดุลยภาพและความเป็นเลิศในการผลิตบัณฑิต • 8. มหาวิทยาลัยควรมองเชิงรุกคือ มองด้าน Supply Push เพื่อไปกระตุ้นให้เกิด Demand • 9.ส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยร่วมมือกับภาคเอกชนในการทำการวิจัยพัฒนานวัตกรรม

  16. ข้อเสนอกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล8ธันวาคม2548)ข้อเสนอกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล8ธันวาคม2548) • 10. เร่งยกระดับคุณวุฒิอาจารย์ให้มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก เช่นให้ทุนศึกษาระดับปริญญาเอก จูงใจให้คนที่จบปริญญาเอกเข้ามาเป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาโดยปรับเงินเดือน ค่าตอบแทน และสวัสดิการ • 11.ต้องพัฒนาอาจารย์ที่อยู่ระบบอุดมศึกษาอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นทั้งด้านการสอน และเพิ่มขีดความสามารถในการวิจัย • 12. ต้องปรับปรุงกระบวนการสรรหาผู้นำในสถาบันอุดมศึกษาให้ได้ผู้นำและทีมงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น • 13. การบริหารงานภายใต้โครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบันไม่เอื้ออำนวยต่อการบริหารจัดการระบบอุดมศึกษาที่ต้องการความคล่องตัว

  17. ข้อเสนอการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ปี(พ.ศ. 2550-2564) • 1.การผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัยไม่เชื่อมโยงกับการจ้างงาน ผลิตตามความพร้อมและศักยภาพของมหาวิทยาลัย • 2.การผลิตบัณฑิตควรให้ฝ่ายจ้างงานมีส่วนร่วมตั้งแต่การกำหนดแนวคิด การกำหนดและพัฒนาหลักสูตรการสอน และรับเข้าทำงาน ซึ่งอาจร่วมในรูปแบบสหกิจศึกษา

  18. ข้อเสนอการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ปี(พ.ศ. 2550-2564) • 3.ทิศทางในอนาคตของอุดมศึกษา ต้องผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ ภาคการผลิตและLifestyle ในการทำงานในอนาคต ที่เน้นการทำงานพร้อมกันหลายอย่างหรือการเปลี่ยนงานบ่อย รวมทั้งการให้ความรู้ด้านทักษะชีวิตที่ถูกต้องและเหมาะสมกับการใช้ชีวิตในอนาคตด้วย • 4. อุดมศึกษาควรจัดหลักสูตรอบรมคนทำงานวัย 40-50 ปี เพื่อเตรียมเกษียณและทำงานหลังเกษียณ ก้าวทันโลกอนาคต ช่วงอายุคนจะยาวขึ้นถึง 70-80 ปี

  19. ข้อเสนอการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ปี(พ.ศ. 2550-2564) • 5. จัดเชื่อมโยงอุดมศึกษากับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา • 6. การเพิ่มสัดส่วนบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐบาลต้องทุ่มลงทุน ลักษณะ Selective ไม่ควรจัดสรรงบประมาณแบบเฉลี่ยเท่ากันทุกแห่ง และใช้ทุนกู้ยืมและการอุดหนุนผู้เรียนเป็นเครื่องมือจูงใจให้คนอยากเข้าเรียน

  20. ข้อเสนอการจัดทำแผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ปี(พ.ศ. 2550-2564) • 7. พิจารณาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ • ต้องกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาอุดมศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านด้วยการ Selective เพื่อทุ่มพัฒนา • เลือกจากมหาวิทยาลัย ที่มีศักยภาพและพัฒนาให้มีความเด่นหรือมีความเป็นเลิศเฉพาะทางในพันธกิจที่ถนัด • ต้องกำหนดระบบการวิจัยแห่งชาติที่มีความร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัย (ฝ่ายวิชาการ) กับภาคการผลิต (อุตสาหกรรม) • กำหนดภาษาที่สองหรือภาษาของประเทศใกล้เคียงที่ไทยจะได้รับประโยชน์ทางด้านการค้า เช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม ลาว และพม่า

  21. ปัจจัยสังคมที่ส่งผลกระทบสูงต่อการอุดมศึกษาปัจจัยสังคมที่ส่งผลกระทบสูงต่อการอุดมศึกษา มติชน ร่วมกับ สกอ. จัดประชุมกำหนดประเด็นเชิงนโยบายแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม2550 1.ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร ผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเท่าตัว ประชากรวัยเด็ก และวัยแรงงานจะลดลง ส่งผลให้ผลผลิตน้อยลง อาหารไม่พอกิน สถาบันอุดมศึกษาต้องช่วยพัฒนาวัยแรงงานให้ศักยภาพสูงขึ้น และเมื่อจำนวนเด็กน้อยลง จะมีที่ว่างในมหาวิทยาลัยมากขึ้น ขณะที่มหาวิทยาลัยขยายตัวขึ้นอย่างไร้แผน จะมีห้องเรียนว่างเพิ่มขึ้น

  22. ปัจจัยสังคมที่ส่งผลกระทบสูงต่อการอุดมศึกษา(ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • 2.พลังงาน ซึ่งแต่ละปีนำเข้าสูง ทำให้เกิดมลพิษ • 3.คนไหลสู่งาน เมื่อก่อตั้งประชาคมอาเซียน ก็จะเกิดการไหลเวียนของประชากรอาเซียน 600 ล้านคน ทั้งเรื่องสังคม งาน ฯลฯ • 4.การกระจายอำนาจยังไม่เห็นจุดเชื่อมโยงที่ชัดเจนของมหาวิทยาลัย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉะนั้น มหาวิทยาลัยจะเกื้อหนุนการกระจายอำนาจอย่างไร หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นไหนจะมาสนับสนุนการอุดมศึกษาเพื่อการวิเคราะห์วิจัยอย่างไร

  23. ปัจจัยสังคมที่ส่งผลกระทบสูงต่อการอุดมศึกษา(ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • 5.ความขัดแย้งและการแก้ปัญหา อุดมศึกษาควรมีส่วนร่วม โดยเฉพาะใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ • 6.เยาวชน ถูกกระทบโดยตรงจากเทคโนโลยี และสื่อ และ • 7.เศรษฐกิจพอเพียง ค่อนข้างใหม่สำหรับอุดมศึกษา บทบาทของอุดมศึกษาในเรื่องนี้เป็นอย่างไร

  24. ปัญหาที่เกิดจากผลการจัดการศึกษา (ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • 1.การแก้ปัญหาคุณภาพนักเรียนก่อนเข้ามหาวิทยาลัย โดยเฉพาะวิชาหลัก วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คะแนนปี2549ต่ำมาก • 2. การเรียนสายอาชีวศึกษาที่ลดลงเรื่อยๆ เพราะมุ่งใบปริญญา สังคมขาดผู้มีทักษะด้านอาชีวะ ทั้งที่ความต้องการสูง ขณะเดียวกันอาชีวะก็หันไปสอนปริญญาเพิ่มขึ้น มหาวิทยาลัยอาจต้องเปิดกว้างให้นักศึกษาอาชีวะเข้าเรียนได้ • 3. อาจารย์จะทำอย่างไรให้มีคุณภาพ สิ่งที่ต้องปฏิรูปเป็นอันดับแรกในระบบการศึกษาคือ อาจารย์ ซึ่งหลายคนสร้างเด็กให้คิดนอกกรอบไม่ได้ จึงไม่เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ

  25. ปัญหาที่เกิดจากผลการจัดการศึกษากระทบอุดมศึกษา(ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • 4.การแบ่งกลุ่มมหาวิทยาลัยเพื่อให้แต่ละสถาบันเข้าใจพันธกิจ และแนวทางการจัดสรรทรัพยากรชัดเจนขึ้น ไม่ใช่ใช้วิธีเฉลี่ย ทำให้ได้คุณภาพแบบเฉลี่ย ทั้งนี้ อนาคตของความร่วมมือ จะต้องเน้นผลิตบัณฑิตที่มีโอกาสคืนถิ่น แทนที่จะไหลเข้าเมืองหมด และ • 5.ต้องเน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต" • 6. สถาบันอุดมศึกษายังขาดความเชื่อมโยงกับเครือข่ายท้องถิ่น โดยต้องให้ความสำคัญกับการบริการสังคม ขณะนี้สถาบันอุดมศึกษามุ่งการประกอบธุรกิจมากกว่าให้บริการองค์ความรู้กับประชาชน

  26. ข้อเสนอทั่วไปในการจัดทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • 1.ความเป็นกลางทางวิชาการ สถาบันอุดมศึกษาต้องรู้ตนเองถนัดด้านไหน อย่างที่คลุมเครือ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยถูกดึงไปเป็นที่ปรึกษาในโครงการต่างๆ คือไปรับใช้ในเรื่องที่ไม่ควร ทำให้ไม่มีความเป็นกลางทางวิชาการ ทำให้คุณค่าของระบบอุดมศึกษาต่ำลง • 2.สร้างรายได้ให้ประเทศ โดยสร้างความเป็นมืออาชีพ เพื่อดึงต่างประเทศเข้ามาเรียน ผลิตบัณฑิต และองค์ความรู้ • 3.มีบทบาทกระตุ้นให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม เพราะขณะนี้นักการเมืองหลายคนที่เรียนในมหาวิทยาลัยไทย แต่ไม่ได้ทำงานเพื่อสังคม อุดมศึกษาจึงต้องสร้างความรับผิดชอบมากขึ้น โดยผลิตบัณฑิตให้มีสภาวะผู้นำ และ • 4.เชื่อมโยงการจัดการเรียนการสอน จัดองค์ความรู้ใหม่ให้ท้องถิ่น"

  27. สกอ.ต้องปรับตัวและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่(ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • 1.ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม และติดตามผลเป็นระยะๆ ของแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว • 2.มองการลงทุนของอุดมศึกษาเป็นคุณค่า ความคุ้มค่า มากกว่ามูลค่า • 3.จัดพื้นที่สำหรับเรียนโดยไม่ต้องมีห้องเรียน • 4.แก้กฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว • 5.พัฒนาฐานข้อมูลเป็นเครือข่าย และ • 6.มีดัชนีชี้วัดในการติดตามแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว ชัดเจน

  28. กระบวนการสร้างอาจารย์อุดมศึกษา (ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • อาจารย์อุดมศึกษา ไม่เหมือนครูประถม และมัธยมศึกษา • 1.คุณสมบัติของอาจารย์มหาวิทยาลัย ต้องจบอย่างน้อยปริญญาโท และขณะนี้เน้นปริญญาเอกมากขึ้น • 2.มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ หรือการจัดระบบการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน • 3.่ยังไม่มีสาขาวิชาเฉพาะที่สอนเพื่อเตรียมเป็นอาจารย์ แม้ระยะหลังเอาผู้ที่เป็นอาจารย์มาเรียนเพิ่มเติม และไม่ค่อยประสบความสำเร็จ เพราะอาจารย์อยากเรียนปริญญาเอกในสาขาวิชาเฉพาะที่สอนมากกว่าเรียนด้านการศึกษา • 4. สิ่งที่จะทำให้อาจารย์เป็นมืออาชีพได้ก็คือกระบวนการพัฒนาที่ต้องเติมเต็มในส่วนที่ขาด เพิ่มสมรรถนะในส่วนที่ต้องเติม เพื่อให้ทำภารกิจที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

  29. เรื่องสำคัญที่ต้องเน้นในการสอนอุดมศึกษามี5เรื่อง(ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • 1.เน้นการสอนเพื่อการถ่ายทอดความรู้น้อยลง เพราะนักศึกษาเข้าถึงแหล่งความรู้ได้หลากหลายผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่ • 2.เน้นพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการเข้าถึงความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น • 3.เน้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนมากขึ้น • 4.เน้นพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหามากขึ้น ซึ่งเป็นจุดอ่อนของการศึกษาไทยทุกระดับ และ • 5.เน้นบูรณาการการเรียนกับการทำงานมากขึ้น

  30. "วิทยาลัยชุมชน" สถาบันการศึกษาน้องใหม่สังกัดสกอ.ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ในระดับต่ำกว่าปริญญาตรี กระจาย18 จังหวัด • 1.เป็นสถานศึกษาที่ให้โอกาสทางการศึกษาแก่คนเพื่อการพัฒนาตลอดชีวิต ที่เรียกว่า Education for All โดยเฉพาะคนที่อยู่ในวัยทำงานที่พลาดโอกาสทางการศึกษา หรือมีความจำเป็นทางเศรษฐกิจและสังคม ทำให้ต้องออกไปทำงานและขาดการศึกษาต่อเนื่อง และ • 2.รัฐมีการระดมทรัพยากรเข้ามาจัดการศึกษา เข้ามาร่วมจัดที่เรียกว่า All for Education"

  31. การหาตัวตนของวิทยาลัยชุมชนแต่ละแห่งการหาตัวตนของวิทยาลัยชุมชนแต่ละแห่ง • 1.จะทำอย่างไรเพื่อสร้างความแตกต่างไปจากสถานศึกษาอื่นๆ ไม่ว่าในเรื่องของหลักสูตรที่สนองตอบความต้องการของชุมชน สนองความต้องการของผู้เรียน • 2. ให้มองทิศทางการขับเคลื่อนวิทยาลัยชุมชนในอนาคตเรืองการเปลี่ยนแปลงของประชากร มีกลุ่มคนที่อยู่ในวัยทำงานยังถือว่าตกค้างทางการศึกษามีอยู่เป็นจำนวนมาก รวมถึงคนที่พ้นวัยทำงานไปแล้วมีอยู่ไม่ต่ำกว่า 32 ล้านคน ซึ่ง 32 ล้านคนนี้คือกลุ่มเป้าหมายของวิทยาลัยชุมชนที่ต้องเติมเต็มโอกาสทางการศึกษา และพัฒนาศักยภาพเพื่อการพัฒนาประเทศในอนาคต

  32. การหาตัวตนของวิทยาลัยชุมชนแต่ละแห่งการหาตัวตนของวิทยาลัยชุมชนแต่ละแห่ง • 3.เรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพงาน เศรษฐกิจและสังคมโลก 2 มิติ คือเรื่องของเทคโนโลยีสมัยใหม่ และอาชีพเฉพาะในแต่ละท้องถิ่น ซึ่งวิทยาลัยชุมชนต้องจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับพื้นที่และทันต่อการเปลี่ยนแปลง • 4.ให้ความสำคัญกับหลักสูตรระยะสั้นที่ต้องสรรค์สร้างให้ครบกระบวนการ ตั้งแต่การให้ความรู้ไปถึงการนำความรู้ไปประกอบอาชีพ และให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งทุนเพื่อขยายผลและนำไปประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน

  33. ปัญหาอาชีวศึกษาในสายตานักการศึกษาปัญหาอาชีวศึกษาในสายตานักการศึกษา • 1.ขาดความเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน • 2.สถาบันการศึกษารับนักศึกษาตามศักยภาพของสถาบันเอง ทำให้การผลิตกำลังคนในช่วงที่ผ่านมาค่อนข้างไร้ทิศทาง • 3.ความนิยมเลือกเรียนม.ปลายสายสามัญมากกว่าสายอาชีพ โดยมิได้กำหนดสัดส่วน จึงเกิดช่องว่างมากขึ้นทุกปี • 4. เกิดภาวะขาดกำลังแรงงานระดับกลางรุนแรง เป็นอุปสรรคต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

  34. ปัญหาอาชีวะน่าห่วงมากที่สุด(นิพนธ์สุรพงษ์รักเจริญ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) 2547 1.การผลิตอาชีวศึกษาไม่ตรงความต้องการภาคเอกชน • สถาบันการศึกษาไม่สัมผัสภาคเอกชน ซึ่งเปรียบเสมือนลูกค้า • สถาบันการศึกษาควรเป็นแกนกลางเชื่อมโยงให้ตรงความต้องการคนทำงานที่ทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป มีความรู้ ความสามารถ สมรรถนะตรงกับความต้องการ • หลักสูตรต้องเชิญเอกชนเข้าไปช่วยร่างหลักสูตรและช่วยสอน • ให้เด็กเข้าไปทำวิจัยในโรงงาน • คณะกรรมการของอาชีวะ กำหนดและทำตัวเลขของอัตรากำลังคนที่ขาดแคลนลงรายละเอียดเป็นรายจังหวัด

  35. ปัญหาอาชีวะน่าห่วงมากที่สุดปัญหาอาชีวะน่าห่วงมากที่สุด 2.รูปแบบสถาบันอาชีวศึกษาที่ประสพความสำเร็จเป็นอย่างไร -ควรพัฒนาวิทยาลัยอาชีวะต้นแบบ5 แห่งเป็นโมเดลต้นแบบใน ภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต้ ตะวันออก 3.คนไม่อยากเรียนอาชีวะ เพราะเห็นว่ายังยกพวกตีกัน ภาพลักษณ์ไม่ดี -พ่อแม่ไม่อยากให้ลูกมาเรียน เด็กไปไหนไม่รอด ถ้าจะมาเรียนอาชีวะ ต้องสร้างกระแส จุดประกาย สื่อมวลชนกับภาคเอกชนต้องช่วยกันเพื่อเปลี่ยนวิถีชีวิตคนในประเทศให้ไปเรียนอาชีวะ

  36. ปัญหาอาชีวะน่าเป็นห่วงมากที่สุด ปัญหาอาชีวะน่าเป็นห่วงมากที่สุด 4.เรียนอาชีวะทำไมได้เงินเดือนน้อย ทำไมไม่ก้าวหน้า • ต้องเปลี่ยนให้เรียนอาชีวะแล้วมีงานทำ รายได้ดี มีอนาคต มีความหวังเลี้ยงลูกเลี้ยงเมียได้ เป็นที่พึ่งได้ • ภาคเอกชนมีส่วนมีบทบาทมาก เพราะภาคเอกชนต้องเปลี่ยนวิธีคิดในสมองใหม่ 5.มาตรฐานวิชาชีพไม่ชัดเจน • ควรกำหนดมาตรฐานใหม่ คือ มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ โดยตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ซึ่งเป็นองค์กรมหาชน สร้างคุณวุฒิวิชาชีพขึ้นมา จบแล้วจะวัดว่าอยู่ระดับไหนและเงินเดือนได้ตามฝีมือ • ไม่ให้ความสำคัญกับปริญญา แต่ให้ความสำคัญว่า ทำอะไรได้ ทำอะไรเป็นวัดผลได้ชัดเจน

  37. นโยบายและการพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาของประเทศไทยนโยบายและการพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาของประเทศไทย • (งานวิจัยสกศ.ล่าสุดเมื่อปี2548) • สภาพกำลังคนของประเทศไทย • แรงงานไทยร้อยละ60หรือ21.3 ล้านคน • -จบการศึกษาเพียงระดับประถมและต่ำกว่า • -ขาดทักษะที่จำเป็น เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการ • -ต้องเร่งยกระดับการศึกษาและทักษะฝีมือแรงงาน • 2. ขาดแคลนกำลังคนระดับกลาง เพื่อการพัฒนาประเทศ

  38. ผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศ 3. ปัญหาการผลิตกำลังคน 1.ขาดกำลังคนที่ปฏิบัติงานได้ตรงลักษณะงาน 2.หลักสูตรไม่ทันสมัย 3.ไม่มีการสอน ในบางสาขาที่ตลาดต้องการ 4. อาจารย์ขาดประสบการณ์ในสถานประกอบการ 5.วิทยากรพี่เลี้ยงขาดทักษะในการสอน ถ่ายทอดงาน 6. อัตราการลาออกของพนักงานใหม่สูง เพราะคำนึงถึงค่าตอบแทน มากกว่างาน 7.ไม่กระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน ไม่มีการตั้งปัญหาหรือข้อสงสัย 8. ผู้จบใหม่มีความคาดหวังที่จะได้รับตำแหน่งดีเงินเดือนสูง ทั้งที่ยังไม่มีประสบการณ์ 9.สถาบันการศึกษาผลิตกำลังคนไม่ทันไม่ตรงความต้องการใช้ และการเติบโตของอุตสาหกรรม

  39. ผลงานวิจัยพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาผลงานวิจัยพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา ของประเทศของสกศ • สภาพการณ์และความต้องการด้านกำลังคนพ.ศ. 2548-2552 • กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต • -การจ้างงานมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว • ปี 2540จำนวน1.64ล้านคน ปี 2546 จำนวน2.00ล้านคน • -กลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและอาหารสัตว์ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม • มีการจ้างงานมากที่สุด4.67และ4.05 แสนคน-ปี2552ต้องการ4.0 ล้านคน ต้องการอาชีวศึกษา 73,129 คน

  40. ผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศ สภาพการณ์และความต้องการด้านกำลังคนพ.ศ. 2548 - 2552 2. กลุ่มอุตสาหกรรมบริการอุตสาหกรรมบริการ ทำรายได้มากกว่าร้อยละ 10 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ การจ้างงานมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปี 2534 จำนวน 4 แสนคน ปี 2546 จำนวน 8 แสนคน ปี2544-2546 กลุ่มโรงแรมและภัตตาคารมีการจ้างงานถึง3.3-3.8 แสนคน หรือร้อยละ47ของการจ้างงานทั้งหมดในภาคบริการ ปี 2552 ต้องการ.06 ล้านคน ต้องการอาชีวศึกษา 15,429คน

  41. ผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศ สภาพการณ์และความต้องการด้านกำลังคนพ.ศ. 2548 – 2552 • ปี 2544 - 2546 แรงงานโลจิสติกส์ มีอยู่จริง 1.8 - 2.4 แสนคน • - มากกว่าร้อยละ 50 อยู่ในกลุ่มขนส่งทางบกและขนส่งท่อลำเลียง • - ร้อยละ 22 อยู่ในกิจกรรมสนับสนุน และช่วยเสริมการขนส่ง • แรงงานส่วนใหญ่มีการศึกษาต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น • ร้อยละ 21 มีการศึกษาระดับ ป.ตรีและสูงกว่า • ปี 2552ต้องการ3.9 แสนคน อาชีวศึกษา ต้องการ19,370 คน

  42. ผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศ กลุ่มอุตสาหกรรมหลัก13สาขา เพื่อเพิ่มขีดความสามารถแข่งขันของประเทศ

  43. สรุปผลงานวิจัยพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาของประเทศของสกศสรุปผลงานวิจัยพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาของประเทศของสกศ 1. ความต้องการกำลังคนของกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ (1) ความรู้และทักษะหลักที่ต้องการร่วมกัน (Core skills) • ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร (ฟัง พูด อ่าน เขียน) • ทั้งภาษาไทยและภาษาอื่น ๆ • ความสามารถประยุกต์ใช้ IT ตัวเลขและการคำนวณ • ในการปฏิบัติงาน • ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็น • การทำงานเป็นทีม

  44. สรุปผลงานวิจัย • ความต้องการกำลังคนของกลุ่มอุตสาหกรรม • (2) มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในการทำงาน • -ความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อองค์กร • -อดทน ขยันหมั่นเพียร ประณีตในการทำงาน • -รับผิดชอบต่อหน้าที่และตรงต่อเวลา • -เสียสละ และทุ่มเทในการทำงาน • -มีวินัยทางการเงิน คิดเรื่องความคุ้มค่าของการลงทุน • -กระตือรือร้น มีวุฒิภาวะ พร้อมในการปฏิบัติงาน • - มุ่งมั่น คิดในทางบวก มุ่งความสำเร็จของงาน • - ใฝ่รู้ มีภาวะผู้นำ • - คำนึงถึงความปลอดภัยในการทำงานและทรัพย์สินขององค์กร

  45. ผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศ • ความต้องการกำลังคนของกลุ่มอุตสาหกรรม • (3) มีความรู้และทักษะวิชาชีพ • มีความรู้และทักษะเชิงช่างพื้นฐาน • มีความรู้และทักษะวิชาชีพหลากหลายสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับงาน • มีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ วิธีการทำงานและนวัตกรรมของสินค้าและบริการ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

  46. ผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศผลงานวิจัยอาชีวศึกษาไทยของสกศ • 2.ข้อเสนอแนะสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรม/ภาคเอกชน • ภาคอุตสาหกรรมหรือองค์กรวิชาชีพ ควรมีส่วนร่วม • ส่งเสริมแนะแนวอาชีพ • กรรมการโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ควรมีภาคเอกชนเข้าร่วมมากขึ้น • อุตสาหกรรมประเภทเดียวกันควรร่วมมือกัน และร่วมมือกับสถาบันการศึกษา จัดการศึกษาระบบทวิภาคีและสหกิจศึกษาให้กว้างขวางขึ้น

  47. 2.ข้อเสนอแนะสำหรับสถาบันการอาชีวศึกษา2.ข้อเสนอแนะสำหรับสถาบันการอาชีวศึกษา • ให้ข้อมูลและสาธิตวิชาชีพแก่นศ.ปัจฉิมนิเทศ • ก่อนจบประมาณ 1 ปี • วิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาและฝึกอบรมอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ • ร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ • ส่งเสริมให้ นศ.เรียนสายวิชาชีพมากขึ้น ด้วยการ • แนะแนวตั้งแต่ระดับประถมศึกษา

  48. 2.ข้อเสนอแนะสำหรับสถาบันการอาชีวศึกษา2.ข้อเสนอแนะสำหรับสถาบันการอาชีวศึกษา • ให้ความรู้เกี่ยวกับสภาพการทำงานและการเตรียมตัวในการสมัครงาน ก่อนสำเร็จการศึกษา • สนับสนุนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ที่ตรงกับสาขาเรียนและทำงาน ระยะเวลาเหมาะสม • ให้ความรู้เกี่ยวกับการประกัน การบริหารคุณภาพ การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในหลักสูตรการศึกษา • มีหลักสูตรต่อยอด สำหรับพนักงานที่ต้องการพัฒนา • ตนเองและศึกษาต่อ

  49. 2.ข้อเสนอแนะสำหรับภาครัฐ2.ข้อเสนอแนะสำหรับภาครัฐ • ให้การสนับสนุนการพัฒนาทักษะที่จำเป็น โดยเฉพาะสาขาวิชาที่ขาดแคลน • สนับสนุนให้นำระบบเทียบโอนประสบการณ์มาใช้ให้แพร่หลายขึ้น • เร่งผลักดันให้เกิดสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (TVQ) • ไม่ควรกำหนดค่าจ้างตามวุฒิการศึกษา • ปรับค่านิยมให้คนไทย ไม่เน้นปริญญาบัตร • นโยบายมีความต่อเนื่อง

  50. 2.ข้อเสนอแนะสำหรับภาครัฐ2.ข้อเสนอแนะสำหรับภาครัฐ • มีกฎหมายหรือระเบียบสนับสนุนการ • ทำงานแบบไม่เต็มเวลา • มีข้อมูลความต้องการกำลังคนที่ชัดเจน เพื่อสามารถผลิตกำลังคนได้ตามความต้องการ • มีมาตรการให้ภาคเอกชน ส่งข้อมูลสภาพการจ้างงานและแนวโน้มกำลังคนให้ทุกปี • ส่งเสริม สนับสนุนการลงทุนของเอกชนไทย • เท่าเทียมบริษัทข้ามชาติ

More Related